Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2169
Title: RISK ASSESSMENT OF AGRICULTURAL CHEMICALS IN PADDY FIELDS AND RICE GRAINS IN THAWIWATTHANA SUBDISTRICT, SAI NOI DISTRICT, NONTHABURI PROVINCE
การประเมินความเสี่ยงจากการปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตรในดินและข้าว ตำบลทวีวัฒนา อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี
Authors: NATTINAN KHLAICHUM
ณัฐฐินันท์ คล้ายชุ่ม
Naphat Phowan
ณภัทร โพธิ์วัน
Srinakharinwirot University
Naphat Phowan
ณภัทร โพธิ์วัน
naphat@swu.ac.th
naphat@swu.ac.th
Keywords: โลหะหนัก
สารเคมีทางการเกษตร
การปนเปื้อน
นาข้าว
การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ
Heavy metals
Agricultural chemicals
Contamination
Paddy field
Health risk assessment
Issue Date:  16
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This aim of this research is to study and assess the risk of agricultural chemical contaminations in paddy fields and rice grains in Thawiwatthana sub-district in Sai Noi District in the Nonthaburi province. The objectives of this study are to study the contamination of heavy metals, such as cadmium, copper, lead, and zinc from the use of agricultural chemicals in soil and rice grains. The Heavy Metal Contamination Hazard Risk Diagnosis was used for the assessment of human health risks from heavy metals. The method used was accident sampling at 10 sampling points, using the Atomic Absorption Spectrophotometry (AAS) technique to determine the amount of heavy metal contamination in soil and rice grains. Then, the hazard was diagnosed in the form of a chemical score and assessed the health risks from soil dermal exposure in the form of a Hazard Quotient (HQ) to assess the health risks from rice ingestion exposure for males and females in the form of a Target Hazard Quotient (THQ). The results showed that heavy metal contamination in soil was lead, followed by zinc, copper, and cadmium, respectively, which were within the comparable standard. For heavy metal contamination in rice grains, copper was found the most, followed by zinc, cadmium, and lead, respectively. Cadmium, copper, and lead were found to be higher than the comparable standards. As for zinc, the value was within the standard. The results of the diagnosis of hazardous risks from heavy metal contamination revealed that the chemical score of heavy metals in soil and rice grains were in the same direction. In descending order, they were as follows: (1) Copper; (2) Zinc; (3) Lead; and (4) Cadmium. The health risk assessment results from the four heavy metals in soil and rice showed that the HQ and THQ values were less than 0.1, indicating that it was not harmful for health if exposed to soil and rice in the study area. However, the accumulation of heavy metals in the soil can be caused by the use of chemical fertilizers and pesticides. The correct use should be reduced or modified in order to ensure the sustainable safety of humans, the environment and ecosystem.
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาและประเมินความเสี่ยงจากการปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตรในดินและข้าว ตำบลทวีวัฒนา อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปนเปื้อนของโลหะหนัก ได้แก่ แคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว และสังกะสี จากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในดินและข้าว การวินิจฉัยความเสี่ยงอันตรายจากการปนเปื้อนโลหะหนัก และการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์จากโลหะหนักในดินและข้าว โดยสุ่มเก็บตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accident Sampling) จำนวน 10 จุดเก็บตัวอย่าง ใช้เทคนิค Atomic Absorption Spectrophotometry (AAS) วิเคราะห์หาการปนเปื้อนโลหะหนักในดินและข้าว จากนั้นวินิจฉัยความเสี่ยงอันตรายในรูปแบบค่าความเข้มข้นทางเคมี (Chemical Score) และประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการสัมผัสดินในรูปแบบค่าสัดส่วนความเสี่ยง (Hazard Quotient: HQ) และ ประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการรับประทานข้าวของเพศชายและเพศหญิงในรูปแบบค่า (Target Hazard Quotient: THQ) ผลการศึกษาพบว่า การปนเปื้อนโลหะหนักในดิน พบตะกั่ว มากที่สุด รองลงมา คือ สังกะสี ทองแดง และแคดเมียม ตามลำดับ  ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเทียบเคียง ส่วนการปนเปื้อนโลหะหนักในข้าว พบทองแดง มากที่สุด รองลงมา คือ สังกะสี แคดเมียม และตะกั่ว ตามลำดับ พบแคดเมียม ทองแดง และตะกั่ว มีค่าสูงกว่ามาตรฐานเทียบเคียง ส่วนสังกะสีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผลการวินิจฉัยความเสี่ยงอันตรายจากการปนเปื้อนโลหะหนัก พบว่า Chemical Score ของโลหะหนักในดินและข้าวเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยเรียงลำดับมากไปน้อย ได้ดังนี้ 1) ทองแดง 2) สังกะสี 3) ตะกั่ว และ 4) แคดเมียม และผลการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากโลหะหนักทั้ง 4 ชนิดในดินและข้าว พบว่ามีค่า HQ และ THQ น้อยกว่า 0.1 แสดงถึง ความไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพหากได้รับการสัมผัสดินและข้าวบริเวณพื้นที่ศึกษา อย่างไรก็ตามการตกค้างสะสมของโลหะหนักในดินอาจเกิดจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ควรมีการลดการใช้หรือปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยอย่างยั่งยืนของมนุษย์ สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2169
Appears in Collections:Faculty of Environmental Culture and Ecotourism

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130399.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.