Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2058
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorATTHAPHON LORPHANen
dc.contributorอรรถพล หล่อพันธุ์th
dc.contributor.advisorTaviga Tungprapaen
dc.contributor.advisorทวิกา ตั้งประภาth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-03-15T05:52:46Z-
dc.date.available2023-03-15T05:52:46Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued16/12/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2058-
dc.description.abstractThis aims of this research are as follows: (1) to study the factors and indicators of digital etiquette in digital citizenship among lower secondary school students; (2) the construction and validation of a scale for measuring digital etiquette in digital citizenship. The research was divided into two phases. The first phase focused on the factors and indicators of digital etiquette in digital citizenship by interviewing six experts. The second phase focused on the scale to measure digital etiquette in digital citizenship among lower secondary school students. The samples were 600 lower secondary school students.The results of the research were as follows: (1) the factors and indicators of digital etiquette had three factors and six indicators. (2) The construction and validation results identified the scale had two scales, a rating and a situation scale with 24 items. Both scales of the Index of Item-Objective Congruence (IOC) from 0.60-1.00. The item discrimination on the rating scale was 0.293-0.618, a Cronbach’s alpha coefficient of 0.890, item discrimination on the situation scale was 0.258-0.590, and a Cronbach’s alpha coefficient of 0.875. The construct validity found that digital etiquette fit the empirical data. The construct validity of the multitrait-multimethod analysis found the convergent validity (monotrait-heteromethod) was 0.513-0.578 the discriminant validity (heterotrait-monomethod) was 0.498-0.728, and the discriminant validity (heterotrait-heteromethod) from 0.377-0.452en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของความเป็นพลเมืองดิจิทัล ด้านมารยาททางดิจิทัล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ 2) เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความเป็นพลเมืองดิจิทัล ด้านมารยาททางดิจิทัล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น การวิจัยเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 6 คน และระยะที่ 2 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 600 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของความเป็นพลเมืองดิจิทัล ด้านมารยาททางดิจิทัล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 6 ตัวบ่งชี้ 2) แบบวัดที่สร้างขึ้นมี 2 ฉบับ คือ แบบวัดชนิดมาตรประมาณค่าและแบบวัดชนิดสถานการณ์มีข้อคำถามฉบับละ 24 ข้อ ผลการตรวจสอบคุณภาพพบว่า ความเที่ยงตรงเชิงพินิจของแบบวัดทั้ง 2 ฉบับ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.60-1.00 แบบวัดชนิดมาตรประมาณค่ามีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.293-0.618 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.890 แบบวัดชนิดสถานการณ์มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.258-0.590 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.875 ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างจากวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า โมเดลการวัดมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ทั้ง 2 โมเดล และความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างจากวิธีการวิเคราะห์หลายลักษณะหลากวิธี พบว่า ค่าความเที่ยงตรงเชิงลู่เข้าจากการวัดคุณลักษณะเดียวกันโดยใช้วิธีการต่างกันมีค่าตั้งแต่ 0.513-0.578 ค่าความเที่ยงตรงเชิงจำแนกจากการวัดคุณลักษณะต่างกันโดยใช้วิธีการเดียวกันมีค่าตั้งแต่ 0.498-0.728 และค่าความเที่ยงตรงเชิงจำแนกจากการวัดคุณลักษณะต่างกันโดยใช้วิธีการต่างกันมีค่าตั้งแต่ 0.377-0.452th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความเป็นพลเมืองดิจิทัลth
dc.subjectมารยาททางดิจิทัลth
dc.subjectแบบวัดมาตรประมาณค่าth
dc.subjectแบบวัดสถานการณ์th
dc.subjectDigital citizenshipen
dc.subjectDigital etiquetteen
dc.subjectRating scaleen
dc.subjectSituation scaleen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleTHE CONSTRUCTION OF DIGITAL CITIZENSHIP: DIGITAL ETIQUETTE SCALEFOR LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTSen
dc.titleการสร้างแบบวัดความเป็นพลเมืองดิจิทัล ด้านมารยาททางดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorTaviga Tungprapaen
dc.contributor.coadvisorทวิกา ตั้งประภาth
dc.contributor.emailadvisortaviga@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisortaviga@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Education Measurement And Research HEen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษาth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130065.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.