Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2032
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWEERA BOONNADEEen
dc.contributorวีระ บุญนาดีth
dc.contributor.advisorNuntana Wongthaien
dc.contributor.advisorนันทนา วงษ์ไทยth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-03-15T05:27:38Z-
dc.date.available2023-03-15T05:27:38Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued16/12/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2032-
dc.description.abstractThis research is a study of concepts of the word ‘Caj’ (mind) in Buddhism and Christianity with a cognitive linguistics study. The objectives of this research are as follows: (1) to analyze and compare the polysemy of the word ‘mind’ in both religions; (2) to analyze and compare the conceptual metaphor of the word ‘mind’ in both religions; and (3) to analyze and compare the critical metaphor of the word ‘mind’ in both religions. The data were collected from two sources: (1) Thai Tripitaka (Royal Version), and (2) Thai Holy Bible (Standard Version). The results showed that the polysemy of the word ‘mind’ in Buddhism had the following senses: (1) ‘organisms’; (2) ‘space’; (3) ‘object’; (4) ‘food’; (5) ‘fire’, and (6) ‘nature’; and in Christianity: (1) ‘space’; (2) ‘object’; (3) ‘fire’; and (4) ‘nature’. The word ‘mind’ in Buddhism can reflect seven conceptual metaphors: (1) mind is an object; (2) mind is space; (3) mind is a person; (4) mind is nature; (5) mind is an animal; (6) mind is fire; and (7) mind is food. However, in Christianity, it can reflect four conceptual metaphors:(1) mind is an object; (2) mind is space; (3) mind is fire; and (4) mind is nature. The critical metaphor analysis of both religions can reveal new perspectives of the word ‘mind’ that differ from the original perspective, that is to say, Buddhism reflects six new perspectives, while Christianity reflects only four new perspectives. In addition, it was revealed that the ideology of Buddhism is reflected through a conceptual metaphor of mind is fire, whereas the ideology of Christianity, which is mind is space, and can reflect the thoughts and beliefs of the religious people of each religion.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษามโนทัศน์ของคำว่าใจที่ปรากฏในพุทธศาสนาและคริสต์ศาสนาตามแนวทางภาษาศาสตร์ปริชานซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบพหุนัยของคำว่าใจที่ปรากฏในพุทธศาสนาและคริสต์ศาสนาวิเคราะห์และเปรียบเทียบอุปลักษณ์มโนทัศน์ของคำว่าใจที่ปรากฏในพุทธศาสนาและคริสต์ศาสนาและวิเคราะห์และเปรียบเทียบการวิพากษ์ของคำว่าใจที่สะท้อนผ่านอุปลักษณ์มโนทัศน์ในพุทธศาสนาและคริสต์ศาสนาโดยเก็บข้อมูลภาษา 2 แหล่งข้อมูล ได้แก่ 1) ข้อมูลภาษาทางพุทธศาสนาศึกษาจากคัมภีร์พระไตรปิฎก (ฉบับหลวง) 2) ข้อมูลภาษาทางคริสต์ศาสนาศึกษาจากพระคัมภีร์ไบเบิล (ฉบับมาตรฐาน) ผลการวิจัยพบว่าพหุนัยของคำว่าใจ ที่ปรากฏในพุทธศาสนา ได้แก่ 1) ความหมาย “สิ่งมีชีวิต” 2) ความหมาย “พื้นที่” 3) ความหมาย “ วัตถุ” 4) ความหมาย “อาหาร” 5 ) ความหมาย “ไฟ” และ 6) ความหมาย “ธรรมชาติ” ส่วนพหุนัยที่ปรากฏในคริสต์ศาสนา ได้แก่ 1) ความหมาย “พื้นที่”  2) ความหมาย“ วัตถุ” 3) ความหมาย “ไฟ”  และ 4 ) ความหมาย  “ธรรมชาติ” และ อุปลักษณ์มโนทัศน์ของคำว่าใจที่ปรากฏในพุทธศาสนาพบว่าสะท้อนอุปลักษณ์มโนทัศน์ 7 อุปลักษณ์มโนทัศน์ ได้แก่ 1) [ใจคือวัตถุ] 2) [ใจคือพื้นที่] 3) [ใจคือมนุษย์] 4) [ใจคือธรรมชาติ] 5) [ใจคือสัตว์] 6) [ใจคือไฟ] และ 7) [ใจคืออาหาร] ส่วนคริสต์ศาสนาสะท้อนอุปลักษณ์มโนทัศน์ 4 อุปลักษณ์มโนทัศน์ ได้แก่ 1) [ใจคือวัตถุ] 2) [ใจคือพื้นที่] 3) [ใจคือไฟ] และ 4) [ใจคือธรรมชาติ] ส่วนการวิพากษ์ของคำว่าใจที่สะท้อนผ่านอุปลักษณ์มโนทัศน์ของทั้ง 2 ศาสนาพบว่า สามารถเปิดเผยให้เห็นมุมมองใหม่ของคำว่าใจที่ต่างจากมุมมองเดิมกล่าวคือพุทธศาสนาสะท้อนมุมมองใหม่ 6 มุมมอง  ส่วนคริสต์ศาสนาสะท้อนมุมมองใหม่ 4 มุมมอง  นอกจากนี้ยังพบว่า อุดมการณ์ของพุทธศาสนาถูกซ่อนอยู่เบื้องหลังการใช้อุปลักษณ์มโนทัศน์ [ใจคือไฟ] ส่วนคริสต์ศาสนาอุดมการณ์ถูกซ่อนอยู่เบื้องหลังการใช้อุปลักษณ์มโนทัศน์ [ใจคือพื้นที่] ซึ่งสามารถสะท้อนความคิดและความเชื่อของผู้นับถือศาสนาแต่ละศาสนาได้เป็นอย่างดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectมโนทัศน์th
dc.subjectพหุนัยth
dc.subjectอุปลักษณ์มโนทัศน์th
dc.subjectการถ่ายโยงวงมโนทัศน์th
dc.subjectอุปลักษณ์เชิงวิพากษ์th
dc.subjectconceptsen
dc.subjectpolysemyen
dc.subjectconceptual metaphoren
dc.subjectmapping of conceptual domainsen
dc.subjectcritical mataphoren
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationReligionen
dc.titleCONCEPTS OF THE WORD  “CAJ” (MIND) IN BUDDHISMAND IN CHRISTIANITY : A COGNITIVE LINGUISTICS STUDYen
dc.titleมโนทัศน์ของคำว่า ใจ ที่ปรากฏในพุทธศาสนา และ คริสต์ศาสนา :การศึกษาตามแนวทางภาษาศาสตร์ปริชานth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNuntana Wongthaien
dc.contributor.coadvisorนันทนา วงษ์ไทยth
dc.contributor.emailadvisornuntanaw@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornuntanaw@swu.ac.th
dc.description.degreenameDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment of Linguiticsen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาภาษาศาสตร์th
Appears in Collections:Faculty of Humanities

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601120022.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.