Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2017
Title: ANTI-ACNE INDUCING BACTERIAL ACTIVITY OF OCIMUM GRATISSIMUM LEAF OIL MICROEMULSION AND NANOEMULSION
ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิวของไมโครอิมัลชันและนาโนอิมัลชัน ของน้ำมันหอมระเหยจากใบยี่หร่า
Authors: NETNAPA ONTAO
เนตรนภา อ้นเต่า
Sirivan Athikomkulchai
ศิริวรรณ อธิคมกุลชัย
Srinakharinwirot University
Sirivan Athikomkulchai
ศิริวรรณ อธิคมกุลชัย
sirivan@swu.ac.th
sirivan@swu.ac.th
Keywords: น้ำมันหอมระเหยจากใบยี่หร่า
ไมโครอิมัลชัน
นาโนอิมัลชัน
ยูจีนอล
Ocimum gratissimum L. oil
Microemulsion
Nanoemulsion
Eugenol
Issue Date:  27
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: Acne vulgaris is a chronic inflammatory skin disease. The two common acne-associated bacteria are Cutibacterium acnes and Staphylococcus epidermidis.  This study aimed to evaluate the anti-acne properties of Ocimum gratissimum leaf oil using the agar disc diffusion method and broth microdilution assay. The microemulsion and nanoemulsion of O. gratissimum leaf oil were formulated by the titration method and phase inversion composition method. The active chemical stability of the formulations was indicated by analyzing the eugenol using a validated UV-Vis spectrophotometry. The anti-acne activity of microemulsion indicated the inhibition zone while nanoemulsion showed only the bacteria static zones against C. acnes and S. epidermidis. The microemulsion contained higher amount of O. gratissimum leaf oil (7.5 %v/v) compared with nanoemulsion (1 %v/v). The microemulsion and nanoemulsion showed an acceptable physical stability at 4 °C and 30 °C, respectively. The degradation of the active compounds in these formulations were dependent on both time and temperature. Thus, this study suggested that the microemulsion and nanoemulsion of  O. gratissimum leaf oil was a potential natural and effective alternative for treatment of acne and overcoming emerging antibiotic resistance.
สิวเป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรัง ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากเชื้อแบคทีเรีย Cutibacterium acnes  และ Staphylococcus epidermidis  งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิว ของน้ำมันหอมระเหยจากใบยี่หร่าด้วยวิธี agar disc diffusion method และ broth microdilution assay พัฒนาไมโครอิมัลชันและนาโนอิมัลชันของน้ำมันหอมระเหยจากใบยี่หร่าด้วยวิธี titration method และ phase inversion composition ศึกษาความคงสภาพทางกายภาพ ประเมินความคงสภาพทางเคมีจากการวิเคราะห์ปริมาณยูจีนอลซึ่งเป็นสารสําคัญด้วยวิธี UV-Visible spectrophotometry ผลการศึกษาพบว่า เมื่อนำไมโครอิมัลชันของน้ำมันหอมระเหยจากใบยี่หร่าไปทดสอบฤทธิ์พบว่ามี inhibition zone กับเชื้อ C. acnes และ S. epidermidis ในขณะที่นาโนอิมัลชันของน้ำมันหอมระเหยจากใบยี่หร่าพบเพียง bacteria static zone เนื่องจากไมโครอิมัลชันสามารถบรรจุปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่มากกว่า (7.5 %v/v ตํารับ) นาโนอิมัลชัน (1 %v/v ตํารับ) การเก็บรักษาไมโครอิมัลชันที่อุณหภูมิต่ำ (4 °C) นาโนอิมัลชันเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง (30 °C)  ส่งผลต่อความคงสภาพกายภาพที่ดี ในด้านความ คงสภาพทางเคมี ที่อุณหภูมิที่สูงขึ้นมีผลต่อการสลายตัวของสารสําคัญในไมโครอิมัลชันและ นาโนอิมัลชัน ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าไมโครอิมัลชัน นาโนอิมัลชันของน้ำมันหอมระเหยจากใบยี่หร่าเป็นอีกทางเลือกทางธรรมชาติสำหรับการรักษาโรคสิวและลดโอกาสในการดื้อยาปฏิชีวนะ
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2017
Appears in Collections:Faculty of Pharmacy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130190.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.