Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1998
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | PICHAYA PONGSUKCHAROENKUL | en |
dc.contributor | พิชญา พงษ์สุขเจริญกุล | th |
dc.contributor.advisor | Bhornsawan Thanathornwong | en |
dc.contributor.advisor | พรสวรรค์ ธนธรวงศ์ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2023-02-08T07:10:02Z | - |
dc.date.available | 2023-02-08T07:10:02Z | - |
dc.date.created | 2022 | |
dc.date.issued | 8/8/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1998 | - |
dc.description.abstract | The dental material that is typically used as a denture base is polymethylmethacrylate (PMMA). Nevertheless, this material is not good enough clinically in terms of mechanical properties. In the 21st century, eco-material industries have become increasingly popular. Natural resources are now becoming more popular than plastic. Natural plant extractions are used as a reinforcer in the fiber and nanocellulose forms. Nanocellulose is low cost, has a good strength and stiffness, a high surface area, and biodegradable. The aim of this research to use a nanocellulose as a reinforcer in acrylic resin. The flexural strength and color changes in PMMA while using nanocellulose from bamboo as a reinforcer for heat-cured acrylic resin were the aim of this study. The nanocellulose was extracted by base and acid hydrolysis and then sieved. The powder was characterized by a scanning electron microscope (SEM). The mixed PMMA and nanocellulose were at 0.25, 0.5, 1.0 and 2.0 %w/w (five groups, each group, n= 5), tested in a three point bending test for flexural strength and a color change test by spectrophotometer. The results showed that the highest flexural strength is 0.5% w/w nanocellulose and a reinforced PMMA that was higher than other groups at a statistically significant level. The spectrophotometer test found that 0.25 and 0.5% w/w nanocellulose reinforced PMMA was (DE = 4.47, 1.61) respectively, compared to the control group. The range of the average perception of color changes in human gingiva (DE = 3.1±1.5). | en |
dc.description.abstract | วัสดุทางทันตกรรมที่นิยมนำมาเป็นฐานของฟันเทียมแบบถอดได้ คือ พลาสติกพอลิเมทิลเมทาคริเลต (พีเอ็มเอ็มเอ; PMMA) แต่เนื่องจากวัสดุชนิดนี้มีคุณสมบัติความแข็งแรงทางกลน้อยซึ่งเสี่ยงต่อการแตกหัก ในศตวรรษที่ 21 มนุษย์ได้ให้ความสำคัญกับการดูแลสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงได้มีการนำสารสกัดจากธรรมชาติมาใช้เป็นวัสดุเสริมแรง ทั้งในรูปแบบเส้นใยและรูปแบบนาโนเซลลูโลสซึ่ง คุณสมบัติของนาโนเซลลูโลสนั้นมีค่าความแข็งแรงและมีความเหนียวที่สูงมีพื้นที่ผิวที่มาก ต้นทุนต่ำ จากคุณสมบัติที่ดีของสารสกัดจากธรรมชาติและความสนใจในการใช้สิ่งทดแทนจากธรรมชาติในการนำมาเสริมแรงเรซินอะคริลิกเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งต่อการโค้งงอ จึงเป็นที่มาของการศึกษานี้ งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติความแข็งแกร่งต่อการโค้งงอของเรซินอะคริลิกที่ใช้สร้างฐานฟันเทียมชนิดบ่มตัวด้วยความร้อนแบบที่ไม่เสริมด้วยอนุภาคเซลลูโลสนาโนคริสตัลจากไผ่กับแบบที่ได้รับการเสริมด้วยอนุภาคเซลลูโลสนาโนคริสตัลจากไผ่ในปริมาณที่แตกต่างกัน โดยนำเยื่อไผ่บดละเอียดมาสกัดโดยเบสและกรด อบแห้งและกรอง นำผงที่ได้ไปส่องกล้องจุลทรรศ์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) เพื่อดูรูปร่างและขนาดของนาโนคริสตัลที่ได้ จากนั้นนำไปผสมในเรซินอะคริลิกตามสัดส่วนร้อยละ 0.25, 0.5, 1.0, และ 2.0 โดยน้ำหนัก (จำนวน 5 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ชิ้นงาน) และนำชิ้นงานมาทดสอบความแข็งแกร่งต่อการโค้งงอและวัดการเปลี่ยนสีของชิ้นงานโดยเครื่องวัดค่าดูดกลืนคลื่นแสงผลการทดลอง พบว่าค่าความแข็งแกร่งต่อการโค้งงอของกลุ่มเติมสารนาโนเซลลูโลสจากไผ่ร้อยละ 0.5 ต่างจากทุกกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความแข็งแกร่งต่อการโค้งงอมากที่สุด การเปลี่ยนสีพบว่ากลุ่มเติมสารนาโนเซลลูโลสจากไผ่ร้อยละ 0.25 และ 0.5 มีค่าการเปลี่ยนสี (∆E = 4.47, 1.61 ตามลำดับ) อยู่ในระดับที่ไม่สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงของสีเหงือกได้ (∆E = 3.1±1.5) | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | พอลิเมทิลเมทาคริเลต นาโนเซลลูโลส | th |
dc.subject | polymethymethacrylate nanocellulose | en |
dc.subject.classification | Dentistry | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | FLEXURAL STRENGTH AND COLOR CHANGED OF HEAT-CURED RESIN ACRYLIC REINFORCEDBY NANOCELLULOSE FROM BAMBOO | en |
dc.title | ความแข็งแกร่งต่อการโค้งงอและการเปลี่ยนสีของเรซินอะคริลิก ที่เสริมแรงด้วยนาโนเซลลูโลสจากไผ่ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Bhornsawan Thanathornwong | en |
dc.contributor.coadvisor | พรสวรรค์ ธนธรวงศ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | pornsawa@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | pornsawa@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | MASTER OF SCIENCE (M.Sc.) | en |
dc.description.degreename | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | Faculty of Dentistry |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs611110075.pdf | 2.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.