Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1967
Title: CONSTRUCTION OF RANARD EK INSTRUCTION PACKAGE FOR PRATHOMSUKSA lll AT VALAYA ALONGKORN RAJABHAT UNIVERSITY UNDER THE ROYAL PATRONAGE DEMONSTRATION SCHOOL PATHUM THANI PROVINCE
การสร้างชุดการสอนระนาดเอก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
Authors: CHANCHAI CHANGYEAV
ชาญชัย ชังเหยี่ยว
Nuttika Soontorntanaphol
นัฏฐิกา สุนทรธนผล
Srinakharinwirot University
Nuttika Soontorntanaphol
นัฏฐิกา สุนทรธนผล
nuttikas@swu.ac.th
nuttikas@swu.ac.th
Keywords: ชุดการสอนระนาดเอก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ระนาดเอก
Ranat Ek
Teaching set
Learning achievement
Issue Date:  27
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The purposes of this research were as follows: (1) to study the learning achievement of students from the learning by using the Ranat Ek teaching set for Grade Three students at Valaya Alongkorn Rajabhat University under Royal Patronage Demonstration School in Pathum Thani Province; and (2) to study the satisfaction of students from learning by using the Ranat Ek teaching set for Grade Three students. The population used in this research were 10 Grade Three students in the second semester of the 2021 academic year at Valaya Alongkorn Rajabhat University under Royal Patronage Demonstration School in the Pathum Thani Province.  The specific method of selection was taught purposive sampling for six weeks, twice a week, and for one hour per session. The single group-pretest/posttest was used in this experimental research plan. The results were measured before and after the experiment in a single group pretest/posttest design. The instruments were used for this research included the Ranat Ek teaching set, a pretest/posttest and a satisfaction assessment form. The data were analyzed using the t-test dependent sample, statistical mean and standard deviation. The results were as follows: (1) the learning achievement of Grade Three students after studying with the Ranat Ek teaching set was higher than before studying at a statistically significant level of .05; (2) the satisfaction of the students with the Ranat Ek teaching set had three aspects. The results of the satisfaction analysis found that the satisfaction of the content aspect was at a high level, and satisfaction with learning material was at a high level and satisfaction with inclusive management aspect was at the highest level.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้จากการเรียนด้วยชุดการสอนระนาดเอก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนระนาดเอก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี จำนวน 10 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้ระยะเวลา 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง การดำเนินการทดลองครั้งนี้ใช้แผนการวิจัยแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังทดลอง (The single group, Pretest – Posttest)  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดการสอนระนาดเอก แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแบบ t-test dependent sample ค่าเฉลี่ย, และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการเรียนด้วยชุดการสอนระนาดเอก พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนระนาดเอกทั้ง 3 ด้าน พบว่า ด้านเนื้อหา ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ด้านสื่อการสอน ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และด้านการจัดการภาพรวม ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1967
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621130306.pdf7.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.