Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1907
Title: INTEGRATIVE GROUP COUNSELING FOR REDUCING GAME ADDICTION AMONG JUNIOR HIGH SCHOOL STUDENTS
การให้คำปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการเพื่อลดพฤติกรรมการติดเกม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
Authors: KAMONCHIT CHANGNGERN
กมลจิตร ช่างเงิน
Patcharaporn Srisawat
พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์
Srinakharinwirot University
Patcharaporn Srisawat
พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์
patcharapom@swu.ac.th
patcharapom@swu.ac.th
Keywords: การให้คำปรึกษากลุ่ม
พฤติกรรมการติดเกม
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
Group counseling
Game addiction
Junior high school students
Issue Date:  8
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The purposes of this research are as follows: (1) to study game addiction behavior among junior high school students; and (2) to compare the game addiction behavior of the students before and after integrative group counseling. The subjects were divided into two groups: the first group were 1,080 junior high school students by simple random sampling. The second group using integrated group counseling to reduce game addiction behavior from a specific selection of junior high school students with a total score on the Game Addiction Quiz indicating that they were in a risk group for being addicted to the game and eight students voluntarily participated in group counseling. The research instruments used in this study included the following: (1) Game Addiction Screening Test – GAST; and (2) Integrative Group Counseling Program to Reduce Game Addiction Behaviors. The statistics used to analyze the data were mean, standard deviation and Wilcoxon Mated Pairs Singed- Rank Test. The research results were as follows: (1) overall, the game addiction behavior of junior high school students indicated their group was probably the most normal group, followed by a group at risk of being addicted to the game and the group addicted to the game, respectively; and (2) after joining integrative group counseling, the game addiction behavior of the students decreased in the normal group at a significantly significant level of .05
การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการติดเกมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น  และ 2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการติดเกมของนักเรียน ก่อนและหลังการให้คำปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาพฤติกรรมการติดเกม เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 1,080 คน จากการสุ่มอย่างง่าย และกลุ่มที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การให้คำปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการเพื่อลดพฤติกรรมการติดเกม ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีคะแนนรวมของการแบบทดสอบการติดเกม อยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่จะติดเกม และมีความสมัครใจเข้าร่วมการให้คำปรึกษากลุ่ม จำนวน 8 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบทดสอบการติดเกม และ 2) โปรแกรมการให้คำปรึกษากลุ่มแบบบูรณาเพื่อลดพฤติกรรมการติดเกม ที่ผ่านการพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติทดสอบวิลคอกซัน ผลการวิจัย พบว่า 1) พฤติกรรมการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยรวมอยู่ในกลุ่มปกติมากที่สุด รองลงมาเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะติดเกม และกลุ่มน่าจะติดเกม ตามลำดับ และ 2) หลังการเข้าร่วมการให้คำปรึกษากลุ่มแบบบูรณา พฤติกรรมการติดเกมโดยรวมของนักเรียนลดน้อยลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1907
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130067.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.