Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1886
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTHANAKRIT AUTTAYAJIRAKULen
dc.contributorธนกฤต อัธยาจิรกูลth
dc.contributor.advisorSunisa Sumirattanaen
dc.contributor.advisorสุณิสา สุมิรัตนะth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:45:33Z-
dc.date.available2023-02-08T06:45:33Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued27/5/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1886-
dc.description.abstractThe purposes of this study are as follows: (1) to compare the mathematical learning achievement on the conic section of Matthayomsuksa Four students using active learning and the conventional method; (2) to compare mathematical problem-solving abilities on the conic section among Matthayomsuksa Four students using active learning and the conventional method; (3) to compare mathematical learning achievement on the conic section among Matthayomsuksa Four students before and after active learning; and (4) to compare mathematical problem-solving abilities on the conic section among Matthayomsuksa Four students before and after active learning. The sample included 74 Matthayomsuksa Four students from two classes in the first semester of 2020 academic year at Prasarnmit Demonstration School (Secondary). These two classes were selected as the sample in this study because they had heterogeneous students. They were selected via cluster random sampling. There were 36 students in the experimental group, and 38 students in the control group. They were enrolled in the Supplementary Mathematics course. The duration was 18 periods. The instruments in this study consisted of lesson plans on active learning, lesson plans on the conventional method, a mathematical learning achievement test, and a mathematical problem-solving abilities test. The research design was a control group Pretest-Posttest design. The data were statistically analyzed using mean, standard deviation, a t-test for independent samples, and a t-test for dependent samples. The results revealed the following: (1) mathematical learning achievement on the conic section among Matthayomsuksa Four students after active learning was higher than the conventional method and statistically significant at a level of .01; (2) mathematical problem-solving abilities on the conic section of Matthayomsuksa Four students after active learning was higher than the conventional method and statistically significant at a level of .01; (3) mathematical learning achievement on the conic section of Matthayomsuksa Four students after active learning was higher than before at a statistically significant level of .01; and (4) mathematical problem-solving abilities on the conic section of Matthayomsuksa Four students after active learning were higher than before learning at a statistically significant level of .01.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับนักเรียนที่ได้รับการเรียนแบบปกติ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับนักเรียนที่ได้รับการเรียนแบบปกติ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก และ 4) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจำนวน 2 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 74 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม (Sampling Unit) จากการจับสลากมา 2 ห้องเรียน จากห้องเรียนคละความสามารถทั้งหมด 6 ห้อง แล้วจับฉลากเป็นกลุ่มทดลองหนึ่งห้อง จำนวนนักเรียน 36 คน และกลุ่มควบคุมหนึ่งห้อง จำนวนนักเรียน 38 คน ใช้เวลาในการทดลองจำนวน 18 คาบ เครื่องมือที่ใช้ คือ แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนแบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ใช้แผนการทดลองแบบ Control – Group Pretest – Posttest Design สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ t-test for independent samples และสถิติ t-test for dependent samples ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการเรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการเรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลัง ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสูงกว่าก่อนเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลัง ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสูงกว่าก่อนเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เชิงรุกth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนแบบปกติth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์th
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectActive learningen
dc.subjectConventional methoden
dc.subjectMathematics learning achievementen
dc.subjectMathematics problem solving abilitiesen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleA COMPARISON OF MATHEMATICS ACHIEVEMENT AND PROBLEM SOLVING ABILITY ON CONIC SECTIONS OF MATHAYOMSUKSA  IV STUDENTS BY USING ACTIVE LEARNING AND THE CONVENTIONAL METHODen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับการเรียนแบบปกติth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSunisa Sumirattanaen
dc.contributor.coadvisorสุณิสา สุมิรัตนะth
dc.contributor.emailadvisorsunisasu@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsunisasu@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Curriculum And Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130005.pdf7.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.