Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/182
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | PANIDA THONGNGAO DORN | en |
dc.contributor | พนิดา ทองเงา ดอร์น | th |
dc.contributor.advisor | SITTIPONG WATTANANONSAKUL | en |
dc.contributor.advisor | สิทธิพงศ์ วัฒนานนท์สกุล | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Graduate School | en |
dc.date.accessioned | 2019-06-18T02:45:00Z | - |
dc.date.available | 2019-06-18T02:45:00Z | - |
dc.date.issued | 17/5/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/182 | - |
dc.description | DOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | The study focused on the civic engagement of Thai adolescents and consisted of two studies. The first study was a research survey and aimed to develop a measurement model for civic engagement among Thai youth. The sample consisted of nine hundred and twenty eight first year Bachelor’s degree students. The data from the study was analyzed using exploratory and confirmatory factor analysis. The results revealed three main factors. The first was behavioral, derived from civic efficacy, group or organization membership, civic willingness and civic participation. The second was affection, derived from community and political connections, and civic awareness. The third was cognition, derived from civic knowledge and civic attitudes. The results also indicated that the measurement model for civic engagement among Thai youth fit with the empirical data. The second study was a quasi-experimental research with a pre-test and post-test control group design which aimed to examine the effectiveness of the integrative learning program to enhance civic engagement among Thai youth. The sample group consisted of two hundred and five first year Bachelor’s degree students. The data from the study was analyzed using MANOVA and SEM. The results revealed that the civic engagement scores between samples did not differ before the application of the program, but afterwards the experimental group sample had significantly higher scores on civic engagement than the control group. The results also indicated that the causal model for civic engagement fit with the empirical data and identity acted as a partial mediator. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองของเยาวชนไทย: การพัฒนาเครื่องมือวัดและโปรแกรมการเรียนรู้แบบบูรณาการครั้งนี้แบ่งเป็น 2 การศึกษา การศึกษาที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลการวัดองค์ประกอบความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองของเยาวชนไทยช่วงวัยรุ่นตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 จำนวน 928 คน ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า โมเดลการวัดองค์ประกอบความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองมี 3 องค์ประกอบดังนี้ 1) ด้านพฤติกรรมมี 4 ตัวบ่งชี้ คือ การมีความสามารถด้านพลเมือง การเข้าร่วมกลุ่มหรือองค์กร การมีความประสงค์ที่จะทำเพื่อส่วนรวม และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสาธารณะ 2) ด้านความรู้สึกมี 2 ตัวบ่งชี้ คือ ความรู้สึกเกี่ยวข้องกับชุมชนและการเมือง และความรู้สึกตระหนักต่อหน้าที่พลเมือง 3) ด้านปัญญามี 2 ตัวบ่งชี้ คือ การมีความรู้ด้านพลเมือง และการมีเจตคติด้านพลเมือง และพบว่า โมเดลการวัดองค์ประกอบความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองของเยาวชนไทยช่วงวัยรุ่นตอนปลายมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ การศึกษาที่ 2 เป็นการวิจัยกึ่งทดลองรูปแบบการทดลองที่มีกลุ่มควบคุมและมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองสำหรับเยาวชนไทยช่วงวัยรุ่นตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 จำนวน 205 คน ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรพหุนามและการวิเคราะห์โมเดลสมการเชิงโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมฯ คะแนนเฉลี่ยความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ค่าเฉลี่ยของคะแนนของกลุ่มตัวแปรความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองในทุกตัวแปรสังเกตได้ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญในทางสถิติ และพบว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองโดยมีเอกลักษณ์แห่งตนเป็นตัวแปรส่งผ่านมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ทั้งนี้ เอกลักษณ์แห่งตนเป็นตัวแปรส่งผ่านแบบบางส่วน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ความยึดมั่นในความเป็นพลเมือง | th |
dc.subject | เอกลักษณ์แห่งตน | th |
dc.subject | การพัฒนาโปรแกรมการเรียน | th |
dc.subject | เยาวชนไทย | th |
dc.subject | Civic engagement | en |
dc.subject | Learning program development | en |
dc.subject | Thai youth | en |
dc.subject.classification | Psychology | en |
dc.title | CIVIC ENGAGEMENT OF THAI ADOLESCENTS: SCALE AND AN INTEGRATIVE LEARNING PROGRAM DEVELOPMENT | en |
dc.title | ความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองของเยาวชนไทย: การพัฒนาเครื่องมือวัดและโปรแกรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Graduate School |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs561150071.pdf | 12.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.