Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1786
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKRITSANAPOL PHIWPHONGen
dc.contributorกฤษณพล ผิวผ่องth
dc.contributor.advisorSittipong Wattananonsakulen
dc.contributor.advisorสิทธิพงศ์ วัฒนานนท์สกุลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:22:39Z-
dc.date.available2023-02-08T06:22:39Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1786-
dc.description.abstractThe purposes of this study are as follows: (1) to examine the the causal model of innovative work behavior of employees working in telecommunication and information technology company; (2) to investigate the direct and indirect effects of Organizational Innovation Support expectation of success and valuing work to innovative working behaviors. The sample consisted of telecommunication company employees and communication among 352 people. The research instrument used in this study was a questionnaire, and Coefficient Path analysis was used to analyze and to estimate the pathways of the relationships among these variables, which showed that the calculated indices provided a good model of fit Chi-square = .136, df = 1, p = .712, RMSEA = 0.01, GFI = .999 and an AGFI = .998. All of the variables in the model accounted for 40%. The results of the research hypothesis model analysis revealed that organizational innovation support had a direct influence on innovative working behavior and indirect influence through the two causal variables, namely the expectation of success in the job and valuing work by total influence at .525. In conclusion, the expectation of success in the job and job value was an important variable in influencing organizational innovation support on innovative working behaviors. It can be used to develop programs and activities to promote innovative working behaviors of employeesen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อตรวจสอบความตรงของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการสนับสนุนนวัตกรรมขององค์การที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงาน โดยมีความคาดหวังความสำเร็จ และการให้คุณค่าในการทำงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน 2) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของการสนับสนุนนวัตกรรมขององค์การ ความคาดหวังในความสำเร็จ และการให้คุณค่าในการทำงาน ไปยังพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม ตัวอย่างวิจัย คือ พนักงานบริษัทโทรคมนาคม และการสื่อสาร จำนวน 352 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ การวิเคราะห์อิทธิพล ประมาณค่าความสัมพันธ์ของตัวแปรในโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการสนับสนุนนวัตกรรมขององค์การที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงาน พิจารณาค่าสถิติความกลมกลืนที่บ่งชี้ถึงความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลการวิเคราะห์กับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยพบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ Chi-square = .136 , df = 1 , p = .712 , RMSEA = 0.01 , GFI = .999 , AGFI = .998 และตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอภิปรายความแปรปรวนร่วมกันในพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 40  ผลการวิเคราะห์โมเดลสมมติฐานการวิจัย พบว่า การสนับสนุนนวัตกรรมขององค์การมีอิทธิพลโดยตรงต่อพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม และส่งผ่านตัวแปร คือ ความคาดหวังความสำเร็จในงาน และการให้คุณค่าในงาน โดยค่าอิทธิพลรวม (Total Effect) มีค่าเท่ากับ .525 สรุปได้ว่า ความคาดหวังความสำเร็จในงาน และการให้คุณค่าในงานเป็นตัวแปรที่มีความสำคัญต่อการส่งอิทธิพลของการสนับสนุนนวัตกรรมขององค์การไปสู่พฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม ผลจากการวิจัยนี้สามารถนำไปประกอบการพัฒนาโปรแกรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงานได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมth
dc.subjectการสนับสนุนนวัตกรรมขององค์กรth
dc.subjectความคาดหวังความสำเร็จในการทำงานth
dc.subjectการให้คุณค่าในงานth
dc.subjectInnovative Work Behavioren
dc.subjectPerceive Organizational Supporten
dc.subjectTask Success Expectationen
dc.subjectValueen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.subject.classificationPhilosophy and ethicsen
dc.titleA CAUSAL RELATIONSHIP MODEL OF INNOVATIVE WORK BEHAVIOROF EMPLOYEES WORKING IN TELECOMMUNICATIONAND INFORMATION TECHNOLOGY COMPANYen
dc.titleโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงานบริษัทโทรคมนาคมและเทคโนโลยีการสื่อสารแห่งหนึ่งth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSittipong Wattananonsakulen
dc.contributor.coadvisorสิทธิพงศ์ วัฒนานนท์สกุลth
dc.contributor.emailadvisorsittipongw@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsittipongw@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.description.degreenameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Graduate School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130448.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.