Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1695
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRUNGROTE SOMNINen
dc.contributorรุ่งโรจน์ สมนิลth
dc.contributor.advisorPiyada Jittangpraserten
dc.contributor.advisorปิยะดา จิตรตั้งประเสริฐth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T05:47:50Z-
dc.date.available2023-02-08T05:47:50Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued27/5/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1695-
dc.description.abstractThe aims of this research were as follows: (1) to develop learning activities on acid-base titration with an effectiveness criterion of at least 70% of students gaining a scientific concept score of more than 50%; (2) to compare scientific concept scores before and after learning with the learning activities; and (3) to study the scores on creativity and innovation skills using learning activities. The research instruments used in this work were the learning activities on acid-base titration, the scientific concept test on the topic of acid-base titration and a creativity and innovation skills assessment forms. The sample group consisted of 39 twelfth- grade students enrolled additional chemistry courses from an extra-large secondary school in Bangkok. The statistics for data analysis, included percentage, mean, standard deviation, and a t-test for dependent samples. The results demonstrated the following: (1) the learning activities on acid-base titration was 100% effectiveness and which was higher than the expected criteria; (2) the scientific concept score of students after learning through learning activities on acid-base titration was significantly higher than those of pre-test scores at a level of .05, and (3) the scores on the creativity and innovation skills of the students using the learning activities were at a good level.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ร้อยละ 70 คือ นักเรียนร้อยละ 70 ขึ้นไปมีคะแนนแนวคิดทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนมากกว่าร้อยละ 50 2) ศึกษาเปรียบเทียบคะแนนแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้และ 3) ศึกษาคะแนนทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมเฉลี่ยของนักเรียนที่เกิดจากการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส แบบวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส และแบบประเมินทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนที่เรียนรายวิชา เคมี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 39 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test for dependent samples สำหรับการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การไทเทรตกรด-เบสที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ มีคะแนนแนวคิดทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ มีคะแนนทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมเฉลี่ยที่เกิดจากการเรียนรู้ อยู่ในระดับดีขึ้นไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการสร้างสรรค์และนวัตกรรมth
dc.subjectแนวคิดทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการไทเทรตกรด-เบสth
dc.subjectชุดกิจกรรมการเรียนรู้th
dc.subjectCreativity and innovationen
dc.subjectScientific Conceptionen
dc.subjectAcid-base titrationen
dc.subjectThe learning activitiesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleDEVELOPMENT OF THE LEARNING ACTIVITIES ON ACID-BASE TITRATION TO PROMOTE SCIENTIFIC CONCEPT AND CREATIVITY AND INNOVATION SKILLS IN HIGH SCHOOL STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส เพื่อส่งเสริมแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPiyada Jittangpraserten
dc.contributor.coadvisorปิยะดา จิตรตั้งประเสริฐth
dc.contributor.emailadvisorpiyadaj@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorpiyadaj@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Chemistryen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาเคมีth
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621130367.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.