Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorHAJAR AHMADen
dc.contributorฮาญัร อะหมัดth
dc.contributor.advisorSupat Sanjamsaien
dc.contributor.advisorสุพัทธ แสนแจ่มใสth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Humanitiesen
dc.date.accessioned2022-07-19T01:39:54Z-
dc.date.available2022-07-19T01:39:54Z-
dc.date.issued27/5/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1638-
dc.descriptionMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this experimental research are as follows: (1) to develop a resilience enhancing program among bereaved adolescents affected by insurgency in the South of Thailand; (2) to study the results of a resilience enhancing program by comparing the resilience scores between the experimental and control groups in the pre-trial and post-trial period. The samples included thirty students with informed consent in Matthayomsuksa Grades 1-6 and had moderate to low proficiency scores. Then, they were matched with the scores of students who received similar scores. Each group had fifteen students with matching subjects and were assigned into a trial group and a control group. The results revealed that the participants in both the experimental and control groups had resilience scores, before and after the trials, were not different with a statistically significant figure of .05. However, the resilience enhancing program created in this research was developed through the integration of the concepts and theories of counseling psychology and also in research papers related to resilience and the quality of the program was inspected by specialists. Furthermore, the schools or agencies related to this context can be applied to enhancing the resilience of the target group.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของวัยรุ่นผู้สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจากสถานการณ์ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของวัยรุ่นผู้สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจากสถานการณ์ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ในระยะก่อนและหลังการทดลอง โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 30 คน ที่มีคะแนนความเข้มแข็งทางใจในระดับปางกลางจนถึงต่ำ และสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย จากนั้นทำการจับเข้ากลุ่มแบบจับคู่รายบุคคล (Matching subject) ที่มีคะแนนจากแบบวัดใกล้เคียงกันมาจับคู่กันเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีคะแนนความเข้มแข็งทางใจไม่แตกต่างกัน ทั้งในระยะก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 อย่างไรก็ดีโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจที่สร้างขึ้นในงานวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาผ่านการบูรณาการแนวคิดทฤษฎีการให้คำปรึกษาและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเข้มแข็งทางจิตใจ และได้รับการตรวจสอบคุณภาพโปรแกรมจากผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งทางโรงเรียนหรือหน่วยงานที่มีบริบทใกล้เคียงสามารถนำไปประยุกต์ปรับใช้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อไปได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความเข้มแข็งทางใจth
dc.subjectโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจth
dc.subjectวัยรุ่นผู้สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักth
dc.subjectResilienceen
dc.subjectResilience enhancing programen
dc.subjectBereaved adolescentsen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleTHE EFFECT OF RESILIENCE ENHANCING PROGRAM AMONGTHE BEREAVED ADOLESCENT EFFECTEDBY SOUTH OF THAILAND INSURGENCYen
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของวัยรุ่นผู้สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจากสถานการณ์ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Humanities

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621110140.pdf4.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.