Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1586
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SUPITCHA THAMMASARN | en |
dc.contributor | สุพิชฌาย์ ธรรมสาร | th |
dc.contributor.advisor | Phetcharat Jinnupong | en |
dc.contributor.advisor | เพชรรัตน์ จินต์นุพงศ์ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Faculty of Business Administration for Society | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-12T07:11:14Z | - |
dc.date.available | 2022-07-12T07:11:14Z | - |
dc.date.issued | 17/12/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1586 | - |
dc.description | MASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.) | en |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to study the brand image of the GrabFood platform and how it influences consumer usage behavior. The sample consisted of 400 people. The results of this research were as follows: the majority of the respondents were female, aged between 24-32, single, held a Bachelor’s degree, worked as company employees, and with an average income of 20,001 to 30,000 Baht. The statistics employed for hypothesis testing included Decision Trees and Multiple Regression Analysis. The results of the hypothesis testing were as follows: (1) the perception of brand image and innovation acceptance affecting usage behavior with a statistical significance of 0.05; and (2) the demographic factors were gender, age, marital status, educational level, occupation and average monthly income affected usage behavior. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของแพลตฟอร์ม GrabFood ได้แก่ การรับรู้ภาพลักษณ์ และการยอมรับนวัตกรรม ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยเป็นผู้ใช้บริการ GrabFood ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 24-32 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชนจำนวน รายได้ เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 30,000 บาท สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือการวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลองการพยากรณ์ในรูปแบบโครงสร้างต้นไม้ (Decision Trees) และสถิติวิเคราะห์สมการถดถอยชนิดตัวแปรหลายตัว (Multiple Regression Analysis) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า การรับรู้ภาพลักษณ์ และการยอมรับนวัตกรรมส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการ GrabFood อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ลักษณะทางประชากรณ์ศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการ GrabFood | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การรับรู้ภาพลักษณ์ | th |
dc.subject | การยอมรับนวัตกรรม | th |
dc.subject | พฤติกรรม | th |
dc.subject | GrabFood | th |
dc.subject | Brand image perception | en |
dc.subject | Innovation acceptance | en |
dc.subject | Behavior | en |
dc.subject | GrabFood | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.title | BRAND IMAGE OF GRABFOOD PLATFORM INFLUENCING USAGE BEHAVIOR | en |
dc.title | ภาพลักษณ์ของแพลตฟอร์ม GrabFood ที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ | th |
dc.type | Master’s Project | en |
dc.type | สารนิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Business administration for society |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs611110118.pdf | 3.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.