Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPORNLAPAS SATHANPONGen
dc.contributorพรลภัส สถานพงษ์th
dc.contributor.advisorPreechaya Nakfonen
dc.contributor.advisorปรีชญาณ์ นักฟ้อนth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Social Sciencesen
dc.date.accessioned2022-06-07T05:59:52Z-
dc.date.available2022-06-07T05:59:52Z-
dc.date.issued17/12/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1491-
dc.descriptionMASTER OF PUBLIC ADMINISTRATION (M.P.A.)en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to study the project succes levels and the factors affecting succes in participating in the tax system and electronic transaction documentation of the e-Tax Invoice and e-Receipt Projects. This research utilizes two methods: a document survey to identify the level success of the project implementation in tern of participating in the project and participating the project of entrepreneur from 2017 to 2020; and (2) to collect data using questionnaire from July 1 2021 until August 31 2021 from entrepreneur selling product and  services to 400 medium and large companies in the Bangkok area. The statistical techniques used both percentage and Chi-square The results the study revealed that the decision to participate in the tax system and electronic transaction documents, such as e-Tax Invoice and e-Receipts among entrepreneurs in medium and large enterprise groups from 2017 to 2020, accounting for 0.02 percent the total number of entrepreneurs in Thailand, which was found to be at a low level. was influenced by five factors: perception factors, attitude factors, readiness factors, Social Influence Factor, and the capacity of state factors. In addition, it was found that the fundamental factors of entrepreneurs did not affect decisions to join the tax system and electronic transaction documents, as e-Tax Invoice and e-Receipts. Therefore, the government should focus creating awareness among entrepreneurs. and develop state competence in technology and equipment as well as personnel who will answer questions and provide more knowledge to entrepreneurs participating in the project. The government should create awareness for entrepreneurs through proactive public relations. This can done through social media and allows operators to send inquiries when they have questions or encounter problems using the system. should organize a seminar Training on basic e-tax procedures or usage including the issuance of tax measur to create a positive attitude and motivate entrepreneurs decide join the project.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสำเร็จในการเข้าร่วมโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ e-Tax Invoice และ e-Receipt และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการเข้าร่วมโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ e-Tax Invoice และ e-Receipt โดยใช้วิธีการศึกษา 2 วิธี คือ 1) การสำรวจเอกสาร เพื่อต้องการทราบถึงระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการ โดยพิจารณาจากลักษณะการเข้าร่วมโครงการและไม่เข้าร่วมโครงการของผู้ประกอบการ ในช่วง พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2563 และ 2) เก็บข้อมูลด้วยเครื่องมือแบบสอบถาม ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564 จากกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจขายสินค้าและให้บริการ ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละและไคสแควร์ ผลการศึกษา การตัดสินใจเข้าร่วมโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ e-Tax Invoice และ e-Receipt ของผู้ประกอบการ ในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจขนาดใหญ่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2563 คิดเป็นร้อยละ 0.02 จากจำนวนผู้ประกอบการทั้งหมดในประเทศไทย ซึ่งอยู่ในระดับที่น้อย โดยการตัดสินใจเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการฯ มีผลมาจากทั้ง 5 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านการรับรู้นโยบายของผู้ประกอบการ ปัจจัยด้านทัศนคติของผู้ประกอบการ ปัจจัยด้านความพร้อมของผู้ประกอบการ ปัจจัยด้านอิทธิพลทางสังคม และปัจจัยด้านสมรรถนะของรัฐ อีกทั้งผลการศึกษายัง พบว่า ปัจจัยพื้นฐานของผู้ประกอบการ ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ e-Tax Invoice และ e-Receipt ดังนั้น ภาครัฐควรให้ความสำคัญในการสร้างการรับรู้ในผู้ประกอบการ และพัฒนาสมรรถนะของรัฐในด้านเทคโนโลยีและอุปกรณ์ พร้อมทั้งบุคลากรที่จะตอบข้อซักถามและให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ให้มากขึ้น โดยรัฐควรสร้างการรับรู้ให้กับผู้ประกอบการจากการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ซึ่งสามารถทำผ่านสื่อสังคมออนไลน์และให้ผู้ประกอบการสามารถส่งข้อความซักถามเมื่อเกิดข้อสงสัยหรือพบปัญหาการใช้งานระบบ และควรจัดสัมมนา อบรมความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนหรือการใช้งานระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น รวมทั้งการออกมาตรการทางภาษี เพื่อเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีและจูงใจให้ผู้ประกอบการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการฯth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความสำเร็จth
dc.subjectระบบภาษีth
dc.subjectเอกสารธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectSuccessen
dc.subjecttax systemen
dc.subjectelectronic transaction documentationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleFACTORS AFFECTING SUCCESS IN PARTICIPATING IN THE TAX SYSTEMS AND ELECTRONIC TRANSACTION DOCUMENTATION OF THE E-TAX INVOICE AND E-RECEIPT PROJECTSen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการเข้าร่วมโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ E-TAX INVOICE และ E-RECEIPTth
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs612130001.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.