Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/148
Title: PARTICIPATION PROCESS IN THE REVIVAL OF  "FON THAI PHUAN" IN THE THAI PHUAN COMMUNTITY IN THE NAKHON NAYOK PROVINCE 
การฟื้นฟูฟ้อนไทยพวนด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชนไทยพวนจังหวัดนครนายก 
Authors: KEANGKAI SUBHONG
เกรียงไกร ศัพท์หงษ์
Noppadol Inchan
นพดล อินทร์จันทร์
Srinakharinwirot University. Faculty of Fine Arts
Keywords: ไทยพวน
การฟื้นฟู
จังหวัดนครนายก
ฟ้อนไทยพวน
การพัฒนา
Nakhon Nayok
Tai Phuan Dance
Issue Date:  17
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The purposes of this research study were to analyze the common characteristics of Tai Phuan dance in Thailand and to develop Tai Phuan dance in the Nakhon Nayok province participated in making Tai Phuan dance unique to Nakhon Nayok. The caiture of Tai Phuan dance could be found in all regions in Thailand; specificaiiy in Nong Khai, in Lopburi, in Maha Sarakham, in Saraburi, in Kalasin Province and in Prachin Buri. The results of this research study pevealed that Tai Phuan dance in all regions featured similar choreography and originated from the Phon Dio Dance in Nong Kai and expanded the cultural movement to other regions in Thailand. The ten most similar choreographies inciuded the 1) Tha Wai; 2) Tha Jeb Song Lhang Tang Wong Klang; 3) Tha Phram Si Na; 4) Tha Shen or Tha Bin Ron; 5) Tha Yang or Tha Dhen; 6) Tha Rhum Kra Bi Jak Mea Bhut; 7) Tha Yung Phon Hang Jak Mea Bhut; 8) Tha Bang Phra Su Ri Ya; 9) Tha Cha Nee Rai Mai and 10) Tha Jhab Meu. Based on the results the Tai Phuan Dance was developed and created with foyrteen main choreographies, which will be used as model for Tai Phuan Dance in Nakhon Nayok.
งานวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ลักษณะร่วมของ ฟ้อนไทยพวน ในประเทศไทย และพัฒนา  ฟ้อนไทยพวน ของจังหวัดนครนายก  ด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างฟ้อนไทยพวนให้เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดนครนายก โดยมีประชากรเป็นแหล่งวัฒนธรรมไทยพวนที่ปรากฏฟ้อนไทยพวนที่กระจายอยู่ในประเทศไทยทั้ง 4 ภูมิภาค ได้แก่ กลุ่มฟ้อนไทยพวนจังหวัดหนองคาย กลุ่มฟ้อนไทยพวนจังหวัดลพบุรี กลุ่มฟ้อนไทยพวนจังหวัดมหาสารคาม กลุ่มฟ้อนไทยพวนจังหวัดสระบุรี กลุ่มฟ้อนไทยพวนจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มฟ้อนไทยพวนจังหวัดปราจีนบุรี ผลการวิจัยพบว่าลักษณะร่วมของการแสดงฟ้อนไทยพวนในแต่ละกลุ่มตัวอย่างมีลักษณะการฟ้อนที่เป็นแบบแผนในลักษณะที่ใกล้เคียงกัน และพบว่ามีต้นกำเนินมาจากกลุ่มฟ้อนเดี่ยว ถ่ายทอดจากจังหวัดหนองคาย  และกระจายต่อเนื่องโดยการไหลทางวัฒนธรรม พบว่ามีท่ารำที่เหมือนกันทั้งหมด 10 กระบวนท่า คือ 1 ท่าไหว้  2 ท่าจีบส่งหลัง ตั้งวงกลาง  3 ท่าพรหมสี่หน้า 4 ท่าเสิ่นหรือท่าบินร่อน  5 ท่าย่าง หรือท่าเดิน  6 ท่ารำกระบี่สี่ท่าจากแม่บท  7 ท่ายุงฟ้อนหางจากแม่บท  8 ท่าบังพระสุริยา 9 ท่าชะนีร่ายไม้ 10. ท่าจับมือ ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูล และใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนจังหวัดนครนายก และได้สร้างสรรค์ฟ้อนไทยพวน ได้ผลวิจัยออกมาทั้งหมด 14 ท่าแม่บทหลัก  และสามารถนำมาใช้เป็นแม่แบบหลักของการฟ้อนไทยพวนจังหวัดนครนายก
Description: MASTER OF EDUCATION (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/148
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581130225.pdf6.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.