Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1431
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTANADON CHINAROONMANGKRONen
dc.contributorธนดล ชินอรุณมังกรth
dc.contributor.advisorPhetcharat Jinnupongen
dc.contributor.advisorเพชรรัตน์ จินต์นุพงศ์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Business Administration for Societyen
dc.date.accessioned2021-09-08T12:57:05Z-
dc.date.available2021-09-08T12:57:05Z-
dc.date.issued16/7/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1431-
dc.descriptionMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to study the following: (1) adoption of innovation; (2) integrated marketing communication; and (3) product associations affecting the buying process of decision-making on electric vehicles (EV). A questionnaire was used to collect data on 180 EV owners in the Bangkok metropolitan area. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and coefficient of variation, hypothesis testing, and multiple regression analysis enter method. The hypothesis testing results indicated the following: (1) adoption of innovation affecting the buying process and decision-making on EVs, such as information search, evaluation of alternatives, purchasing decisions, and post-purchasing behavior; (2) integrated marketing communication affecting the buying process and decision-making in terms of EVs, including information search and evaluation of alternatives; (3) product associations affecting the buying process and decision-making regarding EVs, including problem recognition, information search, evaluation of alternatives, purchasing decisions, and post-purchasing behavior, at statistically significant levels of 0.05 and 0.01.en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การยอมรับนวัตกรรม (2) การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ และ (3) การเชื่อมโยงตราสินค้า มีอิทธิพลกับกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลระบบไฟฟ้า (EV) โดยใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลจากผู้บริโภคที่ครอบครองรถยนต์นั่งส่วนบุคคลระบบไฟฟ้า (EV) ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 180 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ สถิติวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ด้วยวิธี Enter ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า (1) การยอมรับนวัตกรรม มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลระบบไฟฟ้า (EV) ขั้นการแสวงหาข้อมูล ขั้นการประเมินทางเลือก ขั้นการตัดสินใจซื้อ และขั้นพฤติกรรมภายหลังการซื้อ (2) การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลระบบไฟฟ้า (EV) ขั้นการแสวงหาข้อมูล และขั้นการประเมินทางเลือก (3) การเชื่อมโยงสินค้า มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลระบบไฟฟ้า (EV) ขั้นการรับรู้ถึงปัญหา ขั้นการแสวงหาข้อมูล ขั้นการประเมินทางเลือก ขั้นการตัดสินใจซื้อ และขั้นพฤติกรรมภายหลังการซื้อ โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 0.01th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectรถยนต์ไฟฟ้าth
dc.subjectกระบวนการซื้อth
dc.subjectการตัดสินใจth
dc.subjectElectric Vehicleen
dc.subjectBuying Processen
dc.subjectDecision Makingen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleFACTORS AFFECTING THE BUYING PROCESS AND DECISION-MAKING FOR ELECTRIC VEHICLES (EV)en
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลระบบไฟฟ้า (EV)th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611110022.pdf4.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.