Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1401
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWIPAWAN NUMSRICHAROENKULen
dc.contributorวิภาวรรณ นำศรีเจริญกุลth
dc.contributor.advisorDanulada Jamjureeen
dc.contributor.advisorดนุลดา จามจุรีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Graduate Schoolen
dc.date.accessioned2021-09-08T12:54:12Z-
dc.date.available2021-09-08T12:54:12Z-
dc.date.issued16/8/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1401-
dc.descriptionDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe aims of this research are to study the components of and develop a model of learning management for enhancing evidence mind among nursing students. This study employed a research and development methodology. There were three phases: (1) to study the components of evidence mind among nursing students; (2) to develop a model of learning management to enhance evidence mind nursing students; and; (3) to evaluate the effectiveness of a model of learning management to enhance evidence mind among nursing students. The key informants were registered nurses who received an outstanding nurse award from organization and experienced in evidence-based practice with eight people. The samples evaluated the effectiveness of a model of learning management, consisting of twenty-four nursing students in their fourth year at the Faculty of Nursing at Srinakharinwirot University and were selected by cluster random sampling. The results of research revealed the following: (1) evidence mind consisted of three main components: 1) intention, consisting of three sub-components: belief, self-esteem and desire; (2) critical inquiry evidence, consisting of three sub-components: making inquiries, being assertive and critical thinking; and (3) evidence-based ability, consisting of four sub-components: questioning, searching for evidence, verifying evidence, applying and evaluating evidence; (2) the model of learning management for enhancing evidence mind consisted of the ACSAM learning process. There were five steps: (1) attending of purpose: A; (2) curiosity in situations: C; (3) Searching for evidences: S; (4) attesting evidence: A; and (5) making evidence mind: M. (3) the results of effectiveness of the learning management model were as follows: (1) the mean scores of evidence mind were assessed by researcher and the students self-assessed and the learning model was at a characteristic level; (2) the mean scores on evidence mind were assessed by researcher and the self-assessments of the students that increased in each phase, with a statistical significance at .05.; (3) the mean scores of satisfaction with the learning management model were at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาองค์ประกอบ และพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างจิตประจักษ์หลักฐานสำหรับนักศึกษาพยาบาล ดำเนินการในลักษณะการวิจัยและพัฒนา 3 ระยะ 1) ศึกษาองค์ประกอบจิตประจักษ์หลักฐานของนักศึกษาพยาบาล 2) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างจิตประจักษ์หลักฐานสำหรับนักศึกษาพยาบาล 3) ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาองค์ประกอบจิตประจักษ์หลักฐานของนักศึกษาพยาบาลคือ พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับรางวัลพยาบาลดีเด่นจากองค์กรและมีประสบการณ์การปฏิบัติพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ จำนวน 8 คน กลุ่มตัวอย่างในการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำนวน 24 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบจิตประจักษ์หลักฐานของนักศึกษาพยาบาล ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบที่ 1 ความตั้งใจ ประกอบด้วย ความเชื่อ การเห็นคุณค่าในตนเอง และความต้องการ องค์ประกอบที่ 2 วิจารณญาณในการสืบเสาะหลักฐาน ประกอบด้วย ความสงสัยใคร่รู้  ความกล้าคิดกล้าทำ และการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล และองค์ประกอบที่ 3 ความสามารถใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ประกอบด้วย การระบุปัญหา การค้นหาหลักฐานเชิงประจักษ์ การตรวจสอบหลักฐานเชิงประจักษ์ และการประยุกต์ใช้และประเมินผลการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (2) รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างจิตประจักษ์หลักฐาน ประกอบด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้น (ACSAM) คือขั้นที่ 1 ตั้งเป้าหมาย (Attending of purpose: A) ขั้นที่ 2 สงสัยใคร่รู้ (Curiosity in situations: C) ขั้นที่ 3 สืบค้นหลักฐาน (Searching for evidences: S) ขั้นที่ 4 พิสูจน์หลักฐาน (Attesting evidence: A) และขั้นที่ 5 สานจิตประจักษ์หลักฐาน (Making evidence mind: M) (3) ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า 1) ค่าเฉลี่ยคะแนนจิตประจักษ์หลักฐานที่ผู้วิจัยประเมินผู้เรียนและผู้เรียนประเมินตนเองหลังการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับลักษณะนิสัย 2) ค่าเฉลี่ยคะแนนจิตประจักษ์หลักฐานของนักศึกษาพยาบาลที่ผู้วิจัยประเมินผู้เรียน และผู้เรียนประเมินตนเองมีแนวโน้มสูงขึ้นตามช่วงเวลาที่ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) ค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectรูปแบบการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectจิตประจักษ์หลักฐานth
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลth
dc.subjectLearning management modelen
dc.subjectEvidence Minden
dc.subjectNursing Studentsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDEVELOPMENT OF LEARNING MANAGEMENT MODEL FOR ENHANCING EVIDENCE MIND FOR NURSING STUDENTSen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างจิตประจักษ์หลักฐานสำหรับนักศึกษาพยาบาลth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Graduate School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581120035.pdf5.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.