Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1368
Title: DESIGN AND DEVELOPMENT PRODUCT FROM YANTRA TATTOOIN THAILAND FOR GENERATION Y 
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลายสักยันต์ไทย สำหรับกลุ่มคน เจเนอเรชั่น วาย
Authors: PANSA KRUEAKLAY
พรรษา เครือคล้าย
Noppadol Inchan
นพดล อินทร์จันทร์
Srinakharinwirot University. College of Social Communication Innovation
Keywords: ลายสักยันต์ไทย
ผลิตภัณฑ์ความเชื่อ
การตลาดโชคลาง
Thai Yantra tattoos
Superstitious products
Superstitious marketing
Issue Date:  16
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This research is concerned with the design and development products from Yantra Tattoo in Thailand for Generation Y and uses research and development to study and design Thai Yantra tattoos for the trends of the modern era and using home-grown product types, such as Thai Yantra tattoos. The sketch development of Yantra tattoo designs by our specialists is categorized into three categories. They are graphic design, product design and fashion design. The survey of 100 samples have been conducted for the observation and the improvement through prototypes and business models. The results of the study revealed that Yantra tattoo designs can be divided into two types according to superstitious beliefs. They are Mahaoud, defined as the form of a tiger and Mahaniyom, defined as the form of a bird couple (Salika). When used to develop a prototype, it was found that sketch type four in Mahaoud and sketch type four in Mahaniyom were the most suitable for prototype development. It is found that the behavior of buyers, mostly female, aged between 26-30 years, with an average income of 20,000 Baht, who made regular purchases for clothes at 98%, value of each purchase ranged from 501-1,000 Baht, with a frequency of once a month. Their decisions were based on design, price and suitability, respectively. The preferred channel is via Instagram at 69%. With this said, researcher has designed two collections of Thai Yantra tattoo products, each consisting of a T-shirt, a shoulder bag, a hat, a wallet, and a keychain divided into Mahaoud and Mahaniyom categories. In this regard, a business development plan from Yantra tattoo products has thus been made, reflecting the results of consumer behavior research.
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลายสักยนต์ไทย สำหรับกลุ่มคน เจเนอเรชั่น วาย เป็นงานวิจัยที่ใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และนำลายสักยันต์ไทยมาออกแบบให้เข้ากับสังคมปัจจุบัน และเพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากลายสักยันต์ไทย โดยการพัฒนาลวดลายลายสักยันต์ จัดทำแบบร่างผ่านผู้เชี่ยวชาญ 3 ด้าน คือ ด้านการออกแบบกราฟิก ด้านออกแบบผลิตภัณฑ์ และด้านการออกแบบแฟชั่นพิจารณา ปรับต้นแบบ และสอบถามกลุ่มเป้าหมายจำนวน 100 คน และสร้างต้นแบบในผลิตภัณฑ์ รวมถึงวางแผนด้านธุรกิจผ่านการทำแบบจำลองธุรกิจ ผลการศึกษาพบว่าลายสักยันต์สามารถแบ่งออกตามความเชื่อทางไสยศาสตร์ได้ 2 แบบ คือความเชื่อด้านมหาอุด สะท้อนออกด้วยรูปแบบของเสือ และความเชื่อด้านมหานิยม สะท้อนออกด้วยรูปแบบของ นกคู่ (สาลิกา) เมื่อนำมาพัฒนาต้นแบบพบว่า แบบที่ 4 ในหมวดมหาอุด และแบบที่ 2 ในหมวดมหานิยม เหมาะสมในการนำไปพัฒนาต้นแบบ พบว่าพฤติกรรมผู้ซื้อสินค้า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 26-30 ปี  มีรายได้เฉลี่ยที่ 20,000 บาท สินค้าที่เลือกซื้อเป็นประจำคือ เสื้อผ้า  คิดเป็นร้อยละ 98 มูลค่าในการซื้อแต่ละครั้งประมาณ 501-1,000 บาท ความถี่ในการซื้อที่เดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้การตัดสินใจจาก รูปแบบดีไซน์ (Design) ราคา และสามารถใช้งานได้หลายโอกาส ตามลำดับ นิยมซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ โดยจาก Instagram สูงสุดคิดเป็นอัตราร้อยละ 69  ผู้วิจัยได้ทำการออกแบบผลิตภัณฑ์ลายสักยันต์ไทย 2 คอลเลคชั่น โดยแต่ละชุดประกอบด้วย เสื้อยืด กระเป๋าสะพาย หมวก กระเป๋าใส่ธนบัตร และพวงกุญแจ โดยแบ่งเป็นหมวดมหาอุด และหมวดมหานิยม ทั้งนี้ได้ดำเนินการทำวางแผนการพัฒนาด้านธุรกิจจากผลิตภัณฑ์ลายสักยันต์โดยสะท้อนจากผลการวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
Description: MASTER OF ARTS (M.A.)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1368
Appears in Collections:College of Social Communication Innovation

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130204.pdf8.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.