Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/940
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | PREEYAPORN BURANAKARN | en |
dc.contributor | ปรียาภรณ์ บูรณากาญจน์ | th |
dc.contributor.advisor | Sasithon Yuwakosol | en |
dc.contributor.advisor | ศศิธร ยุวโกศล | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. College of Social Communication Innovation | en |
dc.date.accessioned | 2021-01-09T05:55:37Z | - |
dc.date.available | 2021-01-09T05:55:37Z | - |
dc.date.issued | 14/5/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/940 | - |
dc.description | MASTER OF ARTS (M.A.) | en |
dc.description | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aims to study the level of media health literacy and the influential factors in media health literacy related to breastfeeding behavior. The results found that the level of media health literacy of breastfeeding behavior was high. The personal factors correlated with the media health literacy. The number of pregnancies and breastfeeding were not different. Pregnant mothers who received health information from television rather than the internet. There was a difference to print information and those who were not. The psychological factors influencing media health literacy related to the overall, it jointly predicted 63.0%, 53.9%the degree of health media content identification, 43.7% of the reflexive degree. The variable to predict overall was the cognitive behavior factor, the relative influence factor, and the attitude factor respectively. Health media content identification was the cognitive behavior factor, the relative influence factor, and the attitude factor. The degree of reflexive intentions in breastfeeding was the cognitive behavior factor, the attitude factor, and the relative influence factor. The attitude factor did not influence degree of the perceived influence of health media and the degree of analytical thinking. The variables jointly predicted degree of the perceived influence of health media at 34.7% and analytical thinking on the health media data 41.1%. The variable predicted degree of the perceived influence of health media was the relative influence factor and cognitive behavior factor and the degree of analytical thinking was the cognitive behavior factor and the relative influence factor, respectively. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพด้านพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาตั้งครรภ์ ผลการวิจัยพบว่าระดับการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพด้านพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพ จำนวนครั้งการตั้งครรภ์และประสบการณ์ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไม่มีมีความสัมพันธ์ การรับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพจากสื่อโทรทัศน์มีระดับการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพน้อยกว่าสื่ออินเทอร์เน็ต กลุ่มที่เปิดรับข้อมูลข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์แตกต่างกับกลุ่มที่ไม่ได้เปิดรับ ปัจจัยทางจิตวิทยาร่วมกันทำนายการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพด้านพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ภาพรวมได้ ร้อยละ 63.0 ระดับการระบุเนื้อหาสื่อสุขภาพร้อยละ 53.9 และระดับความตั้งใจที่กระทำปฏิกิริยาสะท้อนกลับได้ร้อยละ 43.7 ตัวแปรทำนายภาพรวมได้ดีที่สุดคือ ด้านการรับรู้พฤติกรรม, ด้านคล้อยตามอิทธิพลรอบข้าง และด้านทัศนคติ ตามลำดับ ระดับการระบุเนื้อหาสื่อสุขภาพคือ ด้านการรับรู้พฤติกรรม, ด้านคล้อยตามอิทธิพลรอบข้าง และด้านทัศนคติ และระดับความตั้งใจที่กระทำปฏิกิริยาสะท้อนกลับคือ ด้านการรับรู้พฤติกรรม, ด้านทัศนคติ และด้านคล้อยตามอิทธิพลรอบข้าง ตัวแปรด้านทัศนคติไม่มีอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในระดับการรับรู้ถึงอิทธิพลของสื่อสุขภาพและระดับการคิดเชิงวิเคราะห์ข้อมูลจากสื่อสุขภาพ โดยตัวแปรด้านการคล้อยตามอิทธิพลรอบข้าง และด้านการรับรู้ความสามารถในการแสดงพฤติกรรมร่วมกันทำนายระดับการรับรู้ถึงอิทธิพลของสื่อสุขภาพได้ร้อยละ 34.7 ระดับการคิดเชิงวิเคราะห์ข้อมูลจากสื่อสุขภาพได้ร้อยละ 41.1 ตัวแปรที่มีอำนาจในการทำนายระดับการรับรู้ถึงอิทธิพลของสื่อสุขภาพได้ดีที่สุดคือด้านคล้อยตามอิทธิพลรอบข้างและด้านการรับรู้พฤติกรรม ในระดับการคิดเชิงวิเคราะห์ข้อมูลจากสื่อสุขภาพคือด้านการรับรู้พฤติกรรม และด้านคล้อยตามอิทธิพลรอบข้างตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การรู้เท่าทันสื่อสุขภาพ,การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่,ปัจจัยทางจิตวิทยา,มารดาตั้งครรภ์ | th |
dc.subject | Media health literacy ; Breastfeeding; Psychological factors; Pregnant mothers | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | FACTORS INFLUENCING MEDIA HEALTH LITERACY ON BREASTFEEDING BEHAVIOR OF PREGNANT MOTHERS | en |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพด้านพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ของมารดาตั้งครรภ์ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | College of Social Communication Innovation |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs582130029.pdf | 4.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.