Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/936
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPANNAROS CHAMCHOMDAOen
dc.contributorปัณรส แช่มชมดาวth
dc.contributor.advisorWeerasak Sameeen
dc.contributor.advisorวีระศักดิ์ สามีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Pharmacyen
dc.date.accessioned2021-01-09T05:44:37Z-
dc.date.available2021-01-09T05:44:37Z-
dc.date.issued18/12/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/936-
dc.descriptionMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe HPLC system was developed in the chromatographic conditions of XSelect CSH, 5 μm C18 column, a size of 4.6x250 mm, a column maintained at 30oC, using 0.1% phosphoric acid solution and acetonitrile, mixed by a gradient system in the mobile phase, with a flow rate at 1.0 mL/min and a PDA detector of 288 nm. The chromatogram showed an emodin peak at about 10.8 minutes with a run-time of 20 minutes per injection.  The specificity and selectivity parameters were proved by a good separation of emodin from other compounds.  The concentration and the area under the curve were linear over a range of 1-10 μg of emodin per mL with a correlation coefficient of 0.9999.  The accuracy of the method was assessed by percentage recoveries at three concentration levels, at 1.8, 3.5, 5.5 μg/mL were 101.99, 102.44 and 103.16, respectively. The system precision was performed by three standard solutions had an %RSD of 0.14, 0.09 and 0.12. The limit of detection (LOD) and limit of quantitation (LOQ) were 0.008 and 0.02 μg/mL, respectively.  The emodin from Ventilago denticulata was studied in different solvents; water, 20-100% methanol, 20-100% ethanol, 1-propanol and 1-butanol, by maceration for seven days. The results showed that using 60% ethanol as an extraction solvent provided the highest emodin content. In terms of the microwave-assisted extraction, the optimal conditions were microwave power of 600 watts, a three-extraction cycle and 30 seconds of extraction time.en
dc.description.abstractวิธีวิเคราะห์สารอิโมดินจากสารสกัดเถาวัลย์เหล็กด้วยเทคนิค HPLC ได้พัฒนาขึ้นโดยใช้คอลัมน์ XSelect CSH ชนิด C18 ขนาดอนุภาค 5 ไมโครเมตร ขนาด 4.6x250 มิลลิเมตร อุณหภูมิคอลัมน์ 30 องศาเซลเซียส สารละลายตัวพาเป็นสารละลายกรดฟอสฟลอริก ความเข้มข้นร้อยละ 0.1 และ อะเซโทไนไทรล์ผสมกันแบบเกรเดียน อัตราการไหล 1.0 มิลลิลิตรต่อนาที และตรวจวัดด้วยโฟโตไดโอดแอเรย์ที่ความยาวคลื่น 288 นาโนเมตร อิโมดินให้พีคที่เวลาประมาณ 10.8 นาที โดยใช้เวลาวิเคราะห์ 20 นาทีต่อการฉีดแต่ละครั้ง พบว่าวิธีมีความจำเพาะเจาะจงกับอิโมดินสามารถแยกออกจากพีคข้างเคียงได้ ช่วงความเข้มข้นที่นำไปสร้างเส้นกราฟมาตรฐานความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณอิโมดินและพื้นที่ใต้พีค พบว่าเป็นสัดส่วนโดยตรงตลอดช่วง 1 ถึง 10 ไมโครกรัมต่อมมิลลิลิตร มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.999 การทดสอบความถูกต้องของวิธีแสดงด้วยค่าร้อยละการกลับคืนของอิโมดินที่ 3 ระดับความเข้มข้น 1.8, 3.5 และ 5.5 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร เท่ากับร้อยละ 101.99, 102.44 และ 103.16 ตามลำดับ การทดสอบความแม่นของระบบด้วยสารละลายมาตรฐาน 3 ตัวอย่าง มีค่าร้อยละของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์เท่ากับ 0.14, 0.09 และ 0.12 ปริมาณต่ำสุดของสารที่สามารถตรวจพบได้เท่ากับ 0.008 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และปริมาณต่ำสุดของสารที่สามารถตรวจหาเชิงปริมาณได้เท่ากับ 0.02 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร การศึกษาปริมาณอิโมดินจากสารสกัดเถาวัลย์เหล็กโดยใช้ตัวทำละลายต่างชนิดกัน ได้แก่ น้ำ, เมธานอลความเข้มข้นร้อยละ 20-100, เอธานอลความเข้มข้นร้อยละ 20-100, โพรพานอล และ บิวธานอล ด้วยวิธีการหมักเป็นเวลา 7 วัน พบว่าตัวทำละลายที่สกัดอิโมดินออกมาได้ดีที่สุดคือ เอธานอลความเข้มข้นร้อยละ 60  และสภาวะที่เหมาะของการสกัดด้วยไมโครเวฟ คือกำลังของไมโครเวฟ 600 วัตต์ จำนวนรอบการสกัด 3 รอบ และระยะเวลาในการสกัดรอบละ 30 วินาทีth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectอิโมดินth
dc.subjectHPLCth
dc.subjectเถาวัลย์เหล็กth
dc.subjectEmodinen
dc.subjectHPLCen
dc.subjectVentilago denticulataen
dc.subject.classificationPharmacologyen
dc.titleDEVELOPMENT OF EXTRACTION AND VALIDATION METHODSFOR THE ANALYSIS OF EMODIN IN VENTILAGO DENTICULATAen
dc.titleการพัฒนาวิธีสกัดและวิธีวิเคราะห์ปริมาณอิโมดินจากเถาวัลย์เหล็กth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Pharmacy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs591130343.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.