Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/794
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPATTARA ANCHEUNen
dc.contributorภัทร อันชื่นth
dc.contributor.advisorJaruma Sakdeeen
dc.contributor.advisorจารุมา ศักดิ์ดีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Dentistryen
dc.date.accessioned2020-11-30T01:53:07Z-
dc.date.available2020-11-30T01:53:07Z-
dc.date.issued15/5/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/794-
dc.descriptionMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractObjective: The aim of this study was to examine the fracture resistance of simulated immature teeth after orthograde apical plug with three brands of calcium silicate cement. Materials and Methods: Sixty single-rooted lower premolars were sectioned to obtain 8 mm length. An artificial open apex was prepared using a No.1- No.6 Peeso Reamers all the length of the tooth. After that, all specimens were randomly allocated into 4 groups, 15 teeth each, according to the type of calcium silicate cement: groups I - ProRoot MTA, groups II - MTA angelus, groups III -   Retro MTA and groups IV (control) – completely filling with gutta-percha. Each specimen was then subjected to fracture testing using a Universal Testing Machine. The samples were loaded at a crosshead speed of 1 mm/min until the fracture occurred. The maximum force to fracture was recorded in newtons. Data were analyzed statistically by One-Way ANOVA with Scheffe test. Results: The control group showed significantly lower fracture resistance compared with the other groups (p < .05). No significant difference in fracture resistance between the ProRoot MTA, MTA angelus, and Retro MTA groups were revealed (P > .05). The most common fracture level was the 1/3 middle in 27 of 45 teeth. Conclusions: The immature teeth complete filling with ProRoot MTA , MTA angelus, and  Retro MTA seems to increase the fracture resistance.en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : ศึกษาเปรียบเทียบความต้านทานการแตกหักของฟันจำลองสภาวะปลายรากฟันเปิด เมื่อสร้างแนวกั้นปิดปลายรากฟันด้วยวัสดุในกลุ่มแคลเซียมซิลิเกตซีเมนต์ 3 ชนิด วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ : ฟันกรามน้อยล่างรากเดี่ยวจำนวน 60 ซี่ ตัดปลายรากฟันให้มีความยาว 8 มิลลิเมตร และจำลองสภาวะปลายรากฟันเปิดด้วยพีโซรีมเมอร์ ขนาด 1-6 ตลอดความยาวรากฟัน แบ่งกลุ่มโดยการสุ่มคัดเลือกฟันออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 15 ซี่ ซึ่งแบ่งตามชนิดของวัสดุในกลุ่มแคลเซียมซิลิเกตซีเมนต์; กลุ่มที่ 1 โปรรูทเอ็มทีเอ, กลุ่มที่ 2 เอ็มทีเอแองเจลัส, กลุ่มที่ 3 เรโทรเอ็มทีเอ และกลุ่มที่ 4 กลุ่มควบคุม ทำการอุดด้วยวัสดุที่ระบุไว้ในแต่ละกลุ่ม ยกเว้นกลุ่มที่ 4 ทำการอุดตลอดคลองรากฟันด้วยกัตตาเปอร์ชา ทำการทดสอบค่าความต้านทานการแตกหักของฟันด้วยเครื่องทดสอบแรงสากลให้ความเร็ว 1 มิลลิเมตรต่อนาที จนเกิดการแตกหัก และบันทึกค่าแรงสูงสุดที่ทำให้ฟันเกิดการแตกหักด้วยหน่วยนิวตัน ทำการถ่ายรูปชิ้นฟันที่แตกหักด้วยกล้องจุลทรรศน์ปฏิบัติการทันตกรรม เปรียบเทียบค่าความต้านทานการแตกหักของฟันด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และสถิติเชฟเฟ (Scheffe test) ผลการศึกษา: กลุ่มควบคุมมีค่าความต้านทานการแตกหักของฟันน้อยกว่ากลุ่มการทดลองอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่ออุดภายในคลองรากฟันด้วยโปรรูทเอ็มทีเอ เอ็มทีเอแองเจลัส และ เรโทรเอ็มทีเอ ชิ้นฟันที่แตกส่วนใหญ่มีตำแหน่งการแตกที่ระดับ 1 ใน 3 ของกึ่งกลางรากฟัน จำนวน 27 ใน 45 ซี่ สรุป: การอุดตลอดคลองรากฟันด้วยโปรรูทเอ็มทีเอ เอ็มทีเอแองเจลัส และเรโทรเอ็มทีเอ มีแนวโน้มเพิ่มความต้านทานการแตกหักของฟันจำลองสภาวะปลายรากฟันเปิด th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectปลายรากฟันเปิด, แนวกั้นปิดปลายรากฟัน, ความต้านทานการแตกหัก, วัสดุในกลุ่มแคลเซียมซิลิเกตซีเมนต์th
dc.subjectOpen apex Apical barrier Fracture resistance Calcium silicate cementen
dc.subject.classificationDentistryen
dc.titleFRACTURE RESISTANCE OF SIMULATED OPEN APEX ROOT WITH THREE BRANDS OF CALCIUM SILICATE CEMENT AS AN APICAL PLUG en
dc.titleความต้านทานการแตกหักของฟันจำลองสภาวะปลายรากฟันเปิดเมื่ออุดปลายรากฟันด้วยวัสดุในกลุ่มแคลเซียมซิลิเกตซีเมนต์สามชนิดth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Dentistry

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601110055.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.