Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/78
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPINYA KLINTHONGKUMen
dc.contributorภิญญา กลิ่นทองคำth
dc.contributor.advisorSedtawat Prommasiten
dc.contributor.advisorเศรษฐวัสภุ์ พรมสิทธิ์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Social Sciencesen
dc.date.accessioned2019-06-14T08:58:23Z-
dc.date.available2019-06-14T08:58:23Z-
dc.date.issued21/12/2018
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/78-
dc.descriptionMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThis research has a purpose to study the technology acceptance and perceived risk affecting the consumer decision-making process on paying goods and services using the QR payment system in the Bangkok metropolitan area. The sample 400 consumers, from the age of fifteen, which were obtained by sampling. A questionnaire was used as a tool for data collection. The statistics used in the data analysis included frequency, percentage, mean and standard deviation with reliability of 0.732-0.922 on the hypothesis test for differences using t-values, ANOVA and multiple regression analysis stepwise method. The results indicated that the majority of the respondents were female, aged fifteen to thirty-four, held a Bachelor's degree or lower and company employees, with an estimated income of over than 40,001 THB. The results of the hypothesis testing showed that the different personal factors, such as ages, career and income has the making decisions to pay the QR payment for goods and services was different. The factors of technology adoption include perceived usefulness, perceived ease of use and the factor of perceived risk have positive influence on the decision to pay with QR payment at a statistically significant level of 0.05, which can be used to forecast decisions with QR payment were 35.5% and 33.2%.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดหมายเพื่อศึกษา การยอมรับเทคโนโลยีและการรับรู้ความเสี่ยงที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจชำระเงินค่าสินค้าและบริการด้วยระบบ QR Payment ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่เคยชำระเงินค่าสินค้าและบริการด้วยระบบ QR Payment อายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง 0.732-0.922 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ การวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการหาค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ด้วยวิธี Stepwise ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 15-34 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือต่ำกว่า ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/ลูกจ้าง มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 40,001 บาท ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีการตัดสินใจชำระเงินค่าสินค้าและบริการด้วยระบบ QR Payment แตกต่างกัน ปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี ประกอบด้วย การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ, การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งานและปัจจัยด้านการรับรู้ความเสี่ยงมีอิทธิพลทางบวกต่อการตัดสินใจชำระเงินค่าสินค้าและบริการด้วยระบบ QR Payment อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สามารถนำมาพยากรณ์การตัดสินใจชำระเงินค่าสินค้าและบริการด้วยระบบ QR Payment ได้ร้อยละ 35.5  และร้อยละ 33.2 ตามลำดับ th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยี การรับรู้ความเสี่ยง การตัดสินใจ ระบบ QR Paymentth
dc.subjectAcceptance of Technology Risk Perception Decision MakingQR Paymenten
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleTECHNOLOGY ACCEPTANCE AND PERCEIVED RISK AFFECTING THE CONSUMER DECISION-MAKING PROCESS ON PAYING FOR GOODS AND SERVICES USING THE QR PAYMENT SYSTEM IN THE BANGKOK METROPOLITAN AREAen
dc.titleการยอมรับเทคโนโลยีและการรับรู้ความเสี่ยงที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจชำระเงินค่าสินค้าและบริการด้วยระบบ QR Payment ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs582130034.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.