Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/786
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAKKARATEP AKKEEDEJen
dc.contributorอัครเทพ อัคคีเดชth
dc.contributor.advisorChanick Wangphanichen
dc.contributor.advisorฌานิก หวังพานิชth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Fine Artsen
dc.date.accessioned2020-11-30T01:17:53Z-
dc.date.available2020-11-30T01:17:53Z-
dc.date.issued18/12/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/786-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research are to study the comparison of learning achievement before and after using Augmented Reality, in terms of teaching musical instruments and studying satisfaction with Augmented Reality to teach musical instruments. The sample ware 11 Pratomsuksa Four students at Ongkharak Demonstration School selected using simple random sampling. The research tools included the experimental tool, including augmented reality in teaching musical instruments and data collection tools consisting of an Achievement in Music Instrument test and satisfaction with Augmented Reality in terms of teaching musical instruments. The tools had a reliability coefficient of 0.78 and 0.74, respectively. The results were derived from the data, calculated using simple descriptive statistical analysis and also a comparison of learning achievement before and after the experimental using a t-test for the dependent sample, and satisfaction levels using mean and standard deviation. The results of this research were as follows: (1) after using Augmented Reality in terms of teaching musical instruments, learning achievement increased by a level of .01. (2) The results of the study were satisfaction with Augmented Reality in teaching musical instruments was at the highest level with a mean of 4.71 and standard deviation at 0.38.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการใช้สื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง เครื่องดนตรีสากล และศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง เครื่องดนตรีสากล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จำนวน 11 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ เครื่องมือทดลอง ได้แก่ สื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่องเครื่องดนตรีสากล และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเครื่องดนตรีสากล และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.78 และ 0.74 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ t-test แบบ Dependent Sample และวิเคราะห์ผลความพึงพอใจโดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยผลการวิจัยสรุปผลได้ว่า (1) หลังจากการเรียนด้วยสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเครื่องดนตรีสากล สูงขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2)  นักเรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง เครื่องดนตรีสากล อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเทากับ 4.71 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.38th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมth
dc.subjectเครื่องดนตรีสากลth
dc.subjectAugmented Realityen
dc.subjectMusic Instrumenten
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF AUGMENTED REALITY MEDIA IN MUSICAL INSTRUMENT FOR GRADE 4 STUDENTS OF SRINAKHARINWIROT ONGKHARAK DEMONSTRATION SCHOOLen
dc.titleการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมเรื่อง เครื่องดนตรีสากล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581130222.pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.