Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNAPAPRON SAWANGARROMen
dc.contributorนภาพร สว่างอารมณ์th
dc.contributor.advisorChommanad Cheausuwantaveeen
dc.contributor.advisorชมนาด เชื้อสุวรรณทวีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2020-11-30T01:06:38Z-
dc.date.available2020-11-30T01:06:38Z-
dc.date.issued18/12/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/775-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study were as follows: (1) to compare the abilities of students in mathematical problem-solving abilities between, before, and after administrating active learning management; and (2) to compare their abilities according to the criterion of 80%. The sample was selected via cluster random sampling a class of Prathomsuksa Five students at Anubanchonburi school in the second semester of the 2019 academic year, from a total of classes of students with varying levels of students. The treatment consisted of active lesson plans with sixteen fifty-minute periods. The design of this study was a one-group pretest-posttest design and the samples were tested by a problem-solving ability test. The data was analyzed through mean, standard deviation, a t-test for dependent samples and a t-test for one sample. The results of the research revealed the following: (1) the mathematical problem-solving ability of students after researching Active Learning Management were higher at a statistically significant level of .01 level; (2) the mathematical problem-solving ability of the students after researching Active Learning Management were higher than the criterion of 80% and with a statistical significance of .01; (3) after receiving Active Learning management, the students improved mathematical problem-solving abilities at a good level of 100%.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 2) เปรียบเทียบความสามารถในการ แก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 80 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนอนุบาลชลบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยของการสุ่ม (Sampling Unit) จากห้องเรียนคละความสามารถจำนวน 6 ห้องเรียน ใช้เวลาทดลองจำนวน 16 คาบเรียน เครื่องมือที่ใช้คือ แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยใช้แผนการทดลอง One-Group Pretest – Posttest Design สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ โดยใช้สถิติ t-test for dependent samples และ สถิติ t-test for one sample ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. หลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกนักเรียนมีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์อยู่ในระดับดีขึ้นไป จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด โดยมีนักเรียนที่มีความสามารถอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 84.62 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด และนักเรียนที่มีความสามารถอยู่ในระดับดี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เชิงรุกth
dc.subjectความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาth
dc.subjectMathematical Problem-Solving Abilityen
dc.subjectActive Learning Managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleMATHEMATICAL PROBLEM-SOLVING ABILITY DEVELOPMENT OF PRATHOMSUKSA FIVE STUDENTS THROUGH ACTIVE LEARNING MANAGEMENTen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุกth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130006.pdf5.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.