Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/770
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorACHIRAYA JATURAPATPAIBOONen
dc.contributorอชิรญา จตุรภัทรไพบูลย์th
dc.contributor.advisorSkol Voracharoensrien
dc.contributor.advisorสกล วรเจริญศรีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2020-11-30T01:06:37Z-
dc.date.available2020-11-30T01:06:37Z-
dc.date.issued18/12/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/770-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were as follows: to 1) to study the academic goals of adolescent students; 2) to compare the academic goals of adolescent students in the experimental group, before and after group counseling; and 3) to compare the academic goals of adolescent students between the experiment group and control group. The sample group in this the study of academic goals were 486 adolescent students at Watraikhingwittaya School, Samphranwittaya School, and Kampaengsaenwittaya School, who were selected by multi-stage sampling. The sample in this experiment consisted of 16 students at Watraikhingwittaya School and used purposive sampling to assess their academic goals. The mean was below the twenty-fifth percentile in order to voluntarily participate in the experiment. The participants were divided into two groups, the experimental and the control group, with eight members in each. The research instruments used in this study were the academic goals of the students, which were also examined in group counseling program. The statistical analyses employed were descriptive statistics, with a t-test for the dependent and independent samples. The results of the research were as follows: 1) the academic goals of the adolescent students were at a high level. The factors of each are as follows, in descending order: commitment (M = 3.78), self-efficacy (M = 3.64) and goal setting in studying (M = 3.60); 2) after group counseling, the academic goals among the adolescent students in the experimental group significantly increased at a level of .01; and 3) adolescent students in the experimental group had significantly increased academic goals compared to the control group, after group counseling and at a level of .01.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาเป้าหมายทางการศึกษาของนักเรียนวัยรุ่น 2) เพื่อเปรียบเทียบเป้าหมายทางการศึกษาของนักเรียนวัยรุ่นกลุ่มทดลองก่อนและหลังการให้คำปรึกษากลุ่ม และ  3) เพื่อเปรียบเทียบเป้าหมายทางการศึกษาของนักเรียนวัยรุ่น ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ใช้ศึกษาเป้าหมายทางการศึกษาเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา โรงเรียนสามพรานวิทยา และโรงเรียนกำแพงแสนวิทยา จำนวนทั้งสิ้น 486 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจากประชากร ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ 2 ใช้ในการทดลอง เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา จำนวน 16 คน ที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง มีคะแนนเป้าหมายทางการศึกษาตั้งแต่เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 25 ลงมา และมีความสมัครใจในการเข้าร่วมการทดลอง จากนั้นผู้วิจัยได้คัดเลือกเข้ากลุ่ม โดยการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับสลาก เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและควบคุมกลุ่มละ 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเป้าหมายทางการศึกษาของนักเรียนวัยรุ่น และการให้คำปรึกษากลุ่มเพื่อเสริมสร้างเป้าหมายทางการศึกษาของนักเรียนวัยรุ่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยที่ไม่เป็นอิสระจากกัน และการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยที่เป็นอิสระจากกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) เป้าหมายทางการศึกษาของนักเรียนวัยรุ่นอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความมุ่งมั่นมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (M = 3.78) รองลงมาคือ ด้านความเชื่อในความสามารถของตนเอง (M = 3.64) และด้านการตั้งเป้าหมายทางการเรียน (M = 3.60) ตามลำดับ 2) หลังการให้คำปรึกษากลุ่มนักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเป้าหมายทางการศึกษาเพิ่มสูงขึ้นกว่าคะแนนก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) หลังการให้คำปรึกษากลุ่มนักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเป้าหมายทางการศึกษาสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectเป้าหมายทางการศึกษาth
dc.subjectนักเรียนวัยรุ่นth
dc.subjectการให้คำปรึกษากลุ่มth
dc.subjectAcademic goalsen
dc.subjectAdolescent studentsen
dc.subjectGroup counselingen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleTHE ENHANCEMENT OF ACADEMIC GOALS OF ADOLESCENT STUDENTS THROUGH GROUP COUNSELINGen
dc.titleการเสริมสร้างเป้าหมายทางการศึกษาของนักเรียนวัยรุ่นโดยการให้คำปรึกษากลุ่มth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581130005.pdf4.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.