Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/765
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNATNAREE WANGNGAMen
dc.contributorนาฎณารีย์ วังงามth
dc.contributor.advisorWipongchai Rongkhankaewen
dc.contributor.advisorวิพงษ์ชัย ร้องขันแก้วth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Physical Educationen
dc.date.accessioned2020-11-30T01:02:03Z-
dc.date.available2020-11-30T01:02:03Z-
dc.date.issued30/8/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/765-
dc.descriptionMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were as follows: (1) to study the management system of recreational facilities; (2) to review the process of recreation facility management; (3) to study the feedback regarding the usage of recreational facilities; and (4) to develop guidelines for recreation facility management at the Department of Physical Education in the Ministry of Tourism and Sports. The sample group included seven higher officials at the executive level, ten recreation staff members and 400 public users at the Recreation Center at the Department of Physical Education in the Ministry of Tourism and Sports. The research instruments included three questionnaires: (1) a questionnaire at the executive level (IOC=0.60-1.00 and reliability = 0.926); (2) a questionnaire for the recreation staff members (IOC=0.60-1.00 and reliability = 0.930) 3. A questionnaire for public users who came to use the Recreation Center (IOC=0.60-1.00 and reliability = 0.970). The data included a rating scale, analyzed by percentage, mean and standard deviation audited and approved by the Ethics Committee in Human Research. The results revealed the following: (1) the overall opinion of the recreation facility management by executives were good; (2) the overall opinion of the recreation staff members were good; and (3) the overall opinion of public users at the Recreation Center were good.  en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระบบการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ 2)เพื่อศึกษากระบวนการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ 3)เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการใช้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ และ 4)เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็น ผู้บริหารกรมพลศึกษา จำนวน 7 คน เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ จำนวน 10 คน และประชาชนที่เข้ามาใช้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จำนวน 3 ชุด แบบสอบถามชุดที่ 1 สำหรับผู้บริหารกรมพลศึกษา มีค่า IOC ระหว่าง 0.60 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.926 แบบสอบถามชุดที่ 2 สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ มีค่า IOC ระหว่าง 0.60 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.930 แบบสอบถามชุดที่ 3 สำหรับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ  มีค่า IOC ระหว่าง 0.60 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.970 มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)โดยผ่านการตรวจสอบและได้รับการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารกรมพลศึกษา มีความคิดเห็นต่อระบบการการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ โดยรวมอยู่ในระดับดี 2. เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ มีความคิดเห็นต่อกระบวนการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ โดยรวมอยู่ในระดับดี 3. ผู้ใช้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ มีความคิดเห็นต่อระบบการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ โดยรวมอยู่ในระดับดี th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectแนวทางการพัฒนา; ระบบการจัดการ; กระบวนการจัดการ ;สิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการth
dc.subjectDevelopment ;guidelines ;management system ;recreation facility managementen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleGUIDELINES FOR THE DEVELOPING MANAGEMENT OF RECREATION FACILITY DEPARTMENT OF PHYSICAL  EDUCATION , MINISTRY OF TOURISM AND SPORTSen
dc.titleแนวทางการพัฒนาการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกทางนันทนาการ กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา  th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581130187.pdf5.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.