Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/749
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | VARAPORN KLAYPRAYONG | en |
dc.contributor | วราภรณ์ คล้ายประยงค์ | th |
dc.contributor.advisor | Kanchana Pattrawiwat | en |
dc.contributor.advisor | กาญจนา ภัทราวิวัฒน์ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. BEHAVIORAL SCIENCE RESEARCH INSTITUTE | en |
dc.date.accessioned | 2020-11-12T03:33:24Z | - |
dc.date.available | 2020-11-12T03:33:24Z | - |
dc.date.issued | 18/12/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/749 | - |
dc.description | DOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | The aims of this study were to examine the causal model of the effect of the psychological and situational factors on innovation skills and mediated through the effects of the experiential learning behavior of students in work-based education. The sample group consisted of 625 third-year students in work-based education from 10 faculties at the Panyapiwat Institute of Management. The questionnaire used in this research consisted of six sections, with acceptable psychometric properties. The internal consistency of the questionnaire was acceptable (Cronbach’s alpha of .601 -.815) and had a good model fit indices for confirmatory factor analysis and Structural Equation Modeling was applied to test the structural relationship of the variables using the Mplus program. The results revealed that the adjusted structural relationship model of the psychological and experiential learning behavior effect on the innovation skills of students in work-based education, which was in accord with the empirical data ( = 701.362, df = 322, p < .01, RMSEA [90% CI] = .046 [.042, .051], SRMR = .083, CFI =.940, TLI = .914 and Relative = 2.178). The transfer of knowledge from professors in creative innovation was the most influential factor that directly increased experiential learning behavior and the achievement motive was the most influential factor that directly increased the innovation skills of students in work-based education. Also, transferring knowledge from professors in creative innovation through experiential learning behavior pathways. The variance was 80-92% in terms of the experiential learning behavior and innovation skills, which were explained by the psychological factors in the model. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุของตัวแปรในกลุ่มจิตลักษณะเดิม จิตลักษณะตามสถานการณ์ และลักษณะตามสถานการณ์ที่มีผลต่อทักษะการสร้างสรรค์งานนวัตกรรม โดยผ่านพฤติกรรมการเรียนรู้แบบประสบการณ์ของนักศึกษาในระบบการเรียนรู้จากการทำงานจริง ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาในระบบการเรียนรู้จากการทำงานจริง ชั้นปีที่ 3 ทั้ง 10 คณะ ของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จำนวน 625 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ มีค่าความเชื่อมั่นแบบสอดคล้องภายในอยู่ระหว่าง .601 - .815 และมีความตรงเชิงโครงสร้างอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แบบจำลองสมการเชิงโครงสร้างด้วยโปรแกรม Mplus ผลการวิจัยพบว่า แบบจำลองโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยจิตลักษณะเดิม จิตลักษณะตามสถานการณ์ และลักษณะตามสถานการณ์ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้แบบประสบการณ์และทักษะการสร้างสรรค์งานนวัตกรรมที่ปรับแก้มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า = 701.362, df = 322, p < .01, RMSEA [90% CI] = .046 [.042, .051], SRMR = .083, CFI =.940, TLI = .914 และ Relative = 2.178 และพบว่าตัวแปรที่มีอิทธิพลโดยตรงต่อพฤติกรรมการเรียนรู้แบบประสบการณ์มากที่สุด คือ การถ่ายทอดความรู้จากอาจารย์ด้านการสร้างสรรค์งานนวัตกรรม ตัวแปรที่มีอิทธิพลโดยตรงต่อทักษะการสร้างสรรค์งานนวัตกรรมมากที่สุด คือ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ในขณะที่ตัวแปรการการถ่ายทอดความรู้จากอาจารย์ด้านการสร้างสรรค์งานนวัตกรรม ส่งผลโดยอ้อมต่อทักษะการสร้างสรรค์งานนวัตกรรมมากที่สุด ตัวแปรเชิงสาเหตุทั้งหมดร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการเรียนรู้แบบประสบการณ์ และทักษะการสร้างสรรค์งานนวัตกรรมได้ร้อยละ 80 และ 92 ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ทักษะการสร้างสรรค์งานนวัตกรรม | th |
dc.subject | พฤติกรรมการเรียนรู้แบบประสบการณ์ | th |
dc.subject | การเรียนรู้จากการทำงานจริง | th |
dc.subject | Innovation skill | en |
dc.subject | Experiential learning | en |
dc.subject | Work-based education | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | PSYCHOLOGICAL AND EXPERIENTIAL LEARNING BEHAVIOR EFFECT ON INNOVATION SKILL OF STUDENT IN WORK-BASED EDUCATION | en |
dc.title | จิตลักษณะและพฤติกรรมการเรียนรู้แบบประสบการณ์ที่ส่งผลต่อทักษะการสร้างสรรค์งานนวัตกรรมของนักศึกษาในระบบการเรียนรู้จากการทำงานจริง | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Institute of Research in Behavioral Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs571120096.pdf | 6.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.