Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/738
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorVATCHARANON KEETHONGen
dc.contributorวัชรนนท์ ขี่ทองth
dc.contributor.advisorSonthaya Sriramatren
dc.contributor.advisorสนธยา สีละมาดth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Physical Educationen
dc.date.accessioned2020-11-12T03:20:26Z-
dc.date.available2020-11-12T03:20:26Z-
dc.date.issued30/8/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/738-
dc.descriptionMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe aim of this research was to evaluate two kinds of SAQ training for elementary school children on physical fitness and cognitive function. There were 120 children allocated equally to three groups: a control group (C), the SAQ of hand (SAQ-H), and the SAQ of leg (SAQ-L) groups. All of the participants were assessed using the Trail Making Test A and B (TMT A & B), 20-meter dash, Shuttle and Zig-Zag Run, Zig-Zag Run, a reaction time of hand and leg, and coordination. The C and SAQ-H groups had significant differences in terms of hand reaction time and coordination. The C and SAQ-L groups had a significant difference in coordination. There were no significant differences between the groups for TMT A&B, 20-meter dash, Shuttle and Zig-Zag Run, and Zig-Zag Run. The C group increased significantly in some dependent variables after training. The SAQ-H and the SAQ-L groups significantly increased in terms of dependent variables after training. In conclusion, there was no important distinction between SAQ-H and SAQ-L in enhanced physical fitness and the cognitive functions of elementary school students. However, the SAQ-H and SAQ-L could improve the physical fitness and cognitive functions of primary school students.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกเอสเอคิวสองรูปแบบที่มีต่อสมรรถภาพทางกายและสมรรถนะการรู้คิดในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กนักเรียนจำนวน 120 คน จับฉลากอย่างง่ายแบ่งกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มจำนวน 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มควบคุม กลุ่มฝึกเอสเอคิวมือ และกลุ่มฝึกเอกเอคิวขา กลุ่มฝึกเอสเอคิวมือ และกลุ่มฝึกเอกเอคิวขา ดำเนินการฝึก 8 สัปดาห์ ๆ 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมไม่ได้รับการฝึกใด ๆ ผู้เข้าร่วมทั้งหมดได้รับการทดสอบสมรรถนะการรู้คิด เอและบี วิ่งเร็ว 20 เมตร วิ่งเก็บของและวิ่งอ้อมหลัก วิ่งอ้อมหลัก เวลาปฏิกิริยาตอบสนองของมือและขา และการทำงานประสานกันของตากับมือ ผลการทดลองพบว่า กลุ่มควบคุมและเอสเอคิวมือ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในเวลาปฏิกิริยาตอบสนองของมือและการทำงานประสานกันของตากับมือ กลุ่มควบคุม และเอสเอคิวขา มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในการทำงานประสานกันของตากับมือ แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่มของ แบบทดสอบสมรรถนะการรู้คิด เอ & บี การวิ่งเร็ว 20 เมตร การวิ่งเก็บของและวิ่งอ้อมหลัก และการวิ่งอ้อมหลัก กลุ่มควบคุมมีการเพิ่มขึ้นของตัวแปรตามบางตัวอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนกลุ่มเอสเอคิวมือ และกลุ่มเอสเอคิวขา พบการเพิ่มขึ้นอย่างมากของตัวแปรตามภายหลังการฝึก โดยสรุปได้ว่าไม่มีความแตกต่างกันตัวอย่างมีนัยสำคัญระหว่างเอสเอคิวมือ และเอสเอคิวขา ในสมรรถภาพทางกายและสมรรถนะการรู้คิดที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนระดับประถมศึกษา อย่างไรก็ตามเอสเอคิวมือ และเอสเอคิวขา สามารถพัฒนาสมรรถภาพทางกายและสมรรถนะการรู้คิดของนักเรียนระดับประถมศึกษาได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectเอสเอคิวth
dc.subjectสมรรถภาพทางกายth
dc.subjectสมรรถนะการรู้คิดth
dc.subjectSAQen
dc.subjectphysical fitnessen
dc.subjectcognitive functionen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleTHE EFFECT OF 2 TYPE SAQ TRAINING ON PRIMARY SCHOOLSTUDENTS PHYSICAL FITNESS AND COGNITIVE FUNCTION en
dc.titleผลของการฝึก เอส เอ คิว 2 รูปแบบ ที่มีต่อสมรรถภาพทางกายและสมรรถนะการรู้คิดของนักเรียนระดับประถมศึกษา th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581130345.pdf3.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.