Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/682
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SAOWARAT JAREONWORACHAI | en |
dc.contributor | เสาวรัตน์ เจริญวรชัย | th |
dc.contributor.advisor | Narathip Thumawongsa | en |
dc.contributor.advisor | นราธิป ธรรมวงศา | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Faculty of Humanities | en |
dc.date.accessioned | 2020-11-01T04:17:27Z | - |
dc.date.available | 2020-11-01T04:17:27Z | - |
dc.date.issued | 30/8/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/682 | - |
dc.description | MASTER OF ARTS (M.A.) | en |
dc.description | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This study intends to investigate the motivation of Thai EFL Upper Secondary students and to compare motivation before and after studying with Edmodo. A fourteen item questionnaire was given to the participants after sixteen periods of studying with the integrated Edmodo. The participants were selected by purposive sampling and consisted of one hundred Mattayomsuksa Five students of Mathayomwatsing School, Bangkok. The SPSS was used to analyze the data. The percentage, mean (M), and standard deviation (SD) were used to describe the levels of motivation before and after utilizing Edmodo. The findings showed that the mean scores of the motivation of the students was higher after studying with the integration of Edmodo with a statistical significance level of 0.00. Moreover, the perspectives of the students were highly positive on the effects of Edmodo on the motivation of Thai EFL Upper Secondary schools. In relation to the findings, the limitations of the study, the implications of the study, and recommendations for further study were also discussed. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการเรียน ภาษาอังกฤษโดยใช้ Edmodo โดยใช้แบบสอบถามแรงจูงใจในการเรียน จำนวน 14 ข้อ ถูกนำมาใช้ถามกลุ่มตัวอย่างหลังจากเรียนด้วยบทเรียน Edmodo จำนวน 16 ครั้ง กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ห้า โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ กรุงเทพมหานคร จำนวน100 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โปรแกรม SPSS ได้ถูกนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลค่าสถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่ง ประกอบด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่ออธิบายผลของการใช้ Edmodo ที่มีต่อแรงจูงใจของนักเรียนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ โดยเปรียบเทียบก่อนและหลังการเรียนภาษาอังกฤษ โดยใช้ Edmodo ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับแรงจูงใจของนักเรียนดีขึ้นหลังจากการเรียนโดยใช้ Edmodo อย่างมีนัยทางสถิติระดับ .00 และยังพบว่านักเรียนมีแนวความคิดเชิงบวกต่อการใช้ Edmodo ในบทเรียนอีกด้วย | th |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | Edmodo | th |
dc.subject | นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย | th |
dc.subject | แรงจูงใจ | th |
dc.subject | กรณีศึกษา | th |
dc.subject | Edmodo | en |
dc.subject | Thai EFL upper secondary students | en |
dc.subject | Motivation | en |
dc.subject | Case Study | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | THE EFFECTS OF EDMODO ON THAI EFL UPPER SECONDARY STUDENTS' MOTIVATION : A CASE STUDY OF MATHAYOMWATSING SCHOOL | en |
dc.title | ผลของการใช้ Edmodo ที่มีต่อแรงจูงใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายกรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ | th |
dc.type | Master’s Project | en |
dc.type | สารนิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Humanities |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs581130019.pdf | 1.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.