Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/663
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSANG-ARUN MANOMAI-UDOMen
dc.contributorแสงอรุณ มโนมัยอุดมth
dc.contributor.advisorSiriparn Sriwanyongen
dc.contributor.advisorศิริพันธ์ ศรีวันยงค์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2020-10-24T03:45:36Z-
dc.date.available2020-10-24T03:45:36Z-
dc.date.issued18/12/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/663-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study and compare the writing skills of Thai consonants of students with mild intellectual disabilities, taught through a book with grooved consonants, and the Fernald Method. The population of this research were three primary students with mild intellectual disabilities from Phyathai School, under the authority of the Office of Secondary Educational Service Area in the Bangkok Metropolitan Office of the Basic Education Commission. The instruments used for research included: (1) Individual Implementation Plan (IIP); (2) a book with grooved consonants; and (3) test sheets for writing Thai consonants by using a book with grooved consonants and the Fernald Method. The data collection consists of 19 sixty minutes sessions, taking place five days a week from Monday to Friday from 2:30 pm. to 3.30 pm. The descriptive statistics used for analyzing the quantitative data were average values and percentage. The qualitative data were  analyzed using content analysis. The results of the research were at a very good level and it  showed that the ability to write Thai consonants among students with mild intellectual disabilities were higher than before learning how to write Thai consonants by using a book with grooved consonants together with the Fernald Method.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางการเขียนพยัญชนะไทย ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับเล็กน้อย ที่ได้รับการสอนโดยใช้สมุดร่องพยัญชนะร่วมกับวิธีเฟอร์นาลด์ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับเล็กน้อย ชั้นประถมศึกษา จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) แผนการสอนเฉพาะบุคคล   2) สมุดร่องพยัญชนะ 3) แบบประเมินการเขียนพยัญชนะไทย การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการวิจัยดังนี้ สอนครั้งละ 60 นาที สอนวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 14.30-15.30 น. รวม 5 วันต่อสัปดาห์ เมื่อวันที่ 3-30 เดือนเมษายน พุทธศักราช 2563 รวมทั้งหมด 19 ครั้ง การวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพรรณา ได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าร้อยละ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่าความสามารถทางการเขียนพยัญชนะไทยของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับเล็กน้อย หลังการสอนการเขียนพยัญชนะไทยด้วยสมุดร่องพยัญชนะร่วมกับวิธีเฟอร์นาล์ดสูงกว่าก่อนการสอนเขียนพยัญชนะไทยด้วยสมุดร่องพยัญชนะร่วมกับวิธีเฟอร์นาลด์ และอยู่ในระดับดีมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญ ระดับเล็กน้อยth
dc.subjectสมุดร่องพยัญชนะth
dc.subjectวิธีเฟอร์นาลด์th
dc.subjectความสามารถทางการเขียนth
dc.subjectChildren with Mild Intellectual Disabilitiesen
dc.subjectBook with Grooved Consonantsen
dc.subjectFernald Methoden
dc.subjectWriting Abilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF THAI CONSONANT WRITING ABILITY OF PRIMARY SCHOOL STUDENTS WITH MILD INTELLECTUAL DISABILITIES THROUGH BOOK WITH GROOVED CONSONANTS AND FERNALD METHODen
dc.titleการพัฒนาความสามารถทางการเขียนพยัญชนะไทย ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับเล็กน้อย ชั้นประถมศึกษา ด้วยสมุดร่องพยัญชนะร่วมกับวิธีเฟอร์นาลด์th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130162.pdf6.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.