Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/60
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | RASSARUT THEPCHAITO | en |
dc.contributor | รัศรุจ เทพฉายโต | th |
dc.contributor.advisor | Chulasak Channarong | en |
dc.contributor.advisor | จุลศักดิ์ ชาญณรงค์ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Faculty of Social Sciences | en |
dc.date.accessioned | 2019-06-14T08:58:18Z | - |
dc.date.available | 2019-06-14T08:58:18Z | - |
dc.date.issued | 17/5/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/60 | - |
dc.description | MASTER OF PUBLIC ADMINISTRATION (M.P.A.) | en |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to study the continuing unceasing problems and to study the process recommendation for complaint and problem-solving in Nan Damrongdhama. This research used the policy analysis policy process model and the theory of empirical policy analysis of William M. Dunn for research framework and a simple group was used for the data analysis. Economic growth was caused by unceasing complaints and problems in the Nan Damrongdhama. This study is a qualitative research and the population of Nan Damrongdhama officers (eight people) that was analyzed using descriptive statistical analysis. The results of the analysis found that unceasing complaints or problems and the quantity of complaints and problems were not inconsistent with the resources of the Damrongdhama department and some complaints and problems took a long time, were too complicated Damrongdhama also had no legal support. Moreover, the department did not prioritize to complain about problems and the recommendation for solutions were officers in Nan Damrongdhama must clarify the process of operation regarding complaints and problems. The officers have to respond to the problem and the solution or to specify operations for the solution for authorities and departments. | en |
dc.description.abstract | สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์สองประการ ประกอบด้วย เพื่อศึกษาการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขจัดการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียนของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดน่านที่คงค้าง โดยอาศัยการวิเคราะห์กระบวนการนโยบาย และการวิเคราะห์เชิงประจักษ์ของ วิลเลียมส์ เอ็ม ดันน์ เป็นแนวทางการศึกษา โดยพิจารณาจากกลุ่มตัวอย่างด้านการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดปัญหาความเดือดร้อนให้ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดช่วยเหลือ และยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งสารนิพนธ์เรื่องนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ภายหลังจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 8 ราย ผลการวิเคราะห์พบว่า 1.การดำเนินงานการจัดการเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดน่านที่คงค้าง ไม่สามารถยุติได้ เกิดจากปัญหาหรือข้อร้องเรียนมีมาก ไม่สอดคล้องกับทรัพยากรของหน่วยงาน และบางปัญหามีความซับซ้อนเกินกว่าที่หน่วยงานที่แก้ไขได้ ประกอบกับเจ้าหน้าที่ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองเนื่องจากไม่มีกฎหมายรองรับในการดำเนินการ ซึ่งศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดน่านได้ประเมินการดำเนินงานของหน่วยงานโดยหากพบว่าปัญหาใด ยังไม่สามารถยุติได้ จะเร่งหาวิธีการที่เหมาะสมจัดการกับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ต่อไป 2. แนวทางการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดน่านที่คงค้าง ไม่สามารถยุติได้ พบว่า เจ้าหน้าที่ศูนย์ดำรงธรรมจะต้องสร้างความเข้าใจให้ผู้ขอความช่วยเหลือก่อน และต้องสะท้อนความเดือดร้อน พร้อมแนวทางการแก้ไข ให้ผู้ที่กำหนดนโยบาย พร้อมสนับสนุนทรัพยากรด้านต่างๆ ต่อหน่วยงานที่ดำเนินการแก้ไขปัญหา รวมถึงพัฒนากฎหมายให้รองรับการปฏิบัติงาน จะช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดน่านที่คงค้างได้ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การวิเคราะห์นโยบาย | th |
dc.subject | ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด | th |
dc.subject | นโยบายสาธารณะ | th |
dc.subject | Policy analysis | en |
dc.subject | Province Damrongdhama | en |
dc.subject | Public policy | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | POLICY FORMULATION OF ACCELERATING CONDUCT COMPLAINT AND PETITION FOLLOW-UP AT THE DAMRONGDHAMA CENTER : CASE STUDY OF THE DAMRONGDHAMA CENTER IN THE NAN PROVINCE | en |
dc.title | การวิเคราะห์การดำเนินงานแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน / ร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด : กรณีศึกษาศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดน่าน | th |
dc.type | Master’s Project | en |
dc.type | สารนิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Social Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs571110205.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.