Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/552
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | USA PRACHAKUL | en |
dc.contributor | อุษา ประชากุล | th |
dc.contributor.advisor | Koraklod Kumsook | en |
dc.contributor.advisor | กรกลด คำสุข | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. College of Creative Industry | en |
dc.date.accessioned | 2020-03-11T05:00:52Z | - |
dc.date.available | 2020-03-11T05:00:52Z | - |
dc.date.issued | 15/5/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/552 | - |
dc.description | MASTER OF FINE ARTS (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.) | th |
dc.description.abstract | This thesis focused on the study and development of silk and pineapple fiber textiles for fashion lifestyle products, a case study of the Baan Ta Ruea, Silk Weavers Group in the Na Wa District in Nakhon Phanom province. It aimed to study and to find ways to develop silk mixed with pineapple fiber to form woven fabric in accordance with the ratio suitable to make it as a fashion lifestyle product in order to create new materials from woven fabric and lifestyle products developed from woven silk fabric mixed with pineapple fibers by developing the fabric pattern structure and then developing it into a fashion lifestyle product that responds to the lifestyle of early working age people. In this study, observation through group interviews was used to collect data and find ways to develop pineapple fibers together with silk threads by using a the case study of the Baan Ta Ruea. Silk Weavers Group in the Na Wa District in Nakhon Phanom Province. The Methods of weaving and experimenting with pineapple fibers and silk threads were designed in order to obtain twenty patterns with the fiber characteristics and the textures of the fabric were different according to the proportion of the weaving. Subsequently, the fabric was tested to determine the (pH) value, and the resistance and adhesion of the fabric. Then, the fabric pattern that is suitable for development of fashion lifestyle products was selected. The research found that the development of woven silk with pineapple fibers can be achieved using silk threads as the main warp and the pineapple fibers can be used as the main weft, by weaving with the right amount of silk. The experiment of weaving fabric according to the twenty different proportions, revealed that the average pH was 7.41, which was in the range that does not cause irritation to skin, so it can be developed to be a skin-contact product. The test of the tear resistance and tensile strain of the fabric showed that only fifteen patterns had the suitable strength of the fabric of more than ten percent. When the experts conducted an evaluation to select the fabric pattern from the questionnaire and it was found that the suitable fabric pattern was the ratio of silk threads to pineapple fibers to 70:30. When testing the fabric selected by the experts for development, it was found that the fabric had a higher tear resistance and tensile strain than the woven fabric in the new ratio of 100% of the original community up to 4.83 percent and it can be developed into a tote bag in accordance with the trend of color A/W 20/21, which can be used to design fashion lifestyle products, with one collection of five bags. From this research, the knowledge gained from designing and developing silk woven fabric with pineapple fibers, including using pineapple fibers for textile use by applying wisdom, resulting in innovations in creating new value added types of textiles, as well as the increased properties of the fabric in order to make the product being attractive and meets the needs of consumers today. | en |
dc.description.abstract | ปริญญานิพนธ์ เรื่อง การศึกษาและพัฒนาผ้าไหมผสมใยสับปะรดเพื่อผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์ กรณีศึกษากลุ่มทอผ้าไหมบ้านท่าเรือ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหาแนวทางในการพัฒนาผ้าไหมผสมใยสับปะรดให้มีรูปแบบผืนผ้าทอตามอัตราส่วนที่เหมาะสมในการนำไปต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์ เพื่อสร้างให้เกิดวัสดุใหม่จากผืนผ้าทอและผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ที่พัฒนาจากผืนผ้าไหมทอผสมใยสับปะรด โดยการพัฒนารูปแบบโครงสร้างผืนผ้าทอแล้วนำมาพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์ที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของกลุ่มคนวัยทำงานตอนต้น ในการศึกษาวิจัยนี้ ใช้วิธีการสังเกตการณ์สัมภาษณ์แบบกลุ่ม ในการเก็บข้อมูลและหาแนวทางในการพัฒนาการทอเส้นใยสับปะรดร่วมกับเส้นไหม โดยใช้กรณีศึกษากลุ่มทอผ้าไหมบ้านท่าเรือ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม โดยได้ออกแบบวิธีการทอและทดลองทอเส้นใยสับปะรดร่วมกับเส้นไหมเพื่อให้ได้ลวดลายผืนผ้าที่มีลักษณะเส้นใยและพื้นผิวของผ้าที่แตกต่างกันตามสัดส่วนการทอจำนวน 20 รูปแบบ แล้วนำผืนผ้ามาทดสอบเพื่อวัดหาค่าความเป็นกรด-เบส (pH) ค่าความต้านทานการฉีกขาดและการยืดตัวของผืนผ้า จากนั้นทำการคัดเลือกรูปแบบผืนผ้าที่เหมาะสมเพื่อนำไปพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์ ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาผ้าไหมทอผสมเส้นใยสับปะรดสามารถทำได้โดยใช้เส้นไหมเป็นเส้นยืนหลัก และใช้เส้นใยสับปะรดเป็นเส้นพุ่งหลักได้โดยการทอผสมกับเส้นไหมในอัตราส่วนที่เหมาะสม จากการทดลองทอผืนผ้าตามสัดส่วนต่างๆ ทั้ง 20 รูปแบบ พบว่าค่าเฉลี่ยความเป็นกรด-เบส (pH) อยู่ที่ pH = 7.41 อยู่ในช่วงที่ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง สามารถนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่สัมผัสที่ผิวได้ จากการทดสอบค่าความต้านทานการฉีกขาดและการยืดตัวของผืนผ้า พบว่ามีเพียง 15 รูปแบบที่มีค่าความแข็งแรงของผืนผ้าที่เหมาะสมเกิน 10 เปอร์เซ็นต์ และเมื่อผู้เชี่ยวชาญทำการประเมินเพื่อคัดเลือกรูปแบบผืนผ้าจากแบบสอบถามพบว่า รูปแบบผืนผ้าที่เหมาะสมมีสัดส่วนการทอของเส้นไหมต่อเส้นใยสัปปะรด เป็น 70: 30 ซึ่งเมื่อได้ทำการทดสอบผืนผ้าที่ผู้เชี่ยวชาญคัดเลือกในการนำมาพัฒนาพบว่าผืนผ้าดังกล่าวมีค่าความต้านทานการฉีกขาดและการยืดตัวของผืนผ้า (Tensile strain) มากกว่าผืนผ้าไหมที่ทอในอัตราส่วนของไหม 100 % ของชุมชนเดิม อยู่ถึง 4.83 เปอร์เซ็นต์และสามารถนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์กระเป๋าทรงถุงผ้า (Tote bag) สอดคล้องกับเทรนด์สี A/W 20/21 ซึ่งสามารถนำมาออกแบบแบบร่างผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์ ประเภทกระเป๋า จำนวน 5 ใบ 1 คอลเลกชั่น จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ทำให้ได้องค์ความรู้ในการออกแบบและพัฒนาผืนผ้าไหมทอร่วมกับเส้นใยสับปะรด รวมถึงการนำเส้นใยสับปะรดมาใช้ประโยชน์ในด้านสิ่งทอ โดยใช้ภูมิปัญญาทำให้เกิดนวัตกรรมในการสร้างสรรค์สิ่งทอในรูปแบบใหม่ เพื่อสร้างให้เกิดมูลค่าเพิ่มตลอดจนคุณสมบัติของผืนผ้าที่เพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับผลิตภัณฑ์และตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ไหม | th |
dc.subject | ทอผสม | th |
dc.subject | เส้นใยสับปะรด | th |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์ | th |
dc.subject | Silk | en |
dc.subject | Mixed Weave | en |
dc.subject | Pineapple Fibers | en |
dc.subject | Fashion Lifestyle Products | en |
dc.subject | Silk weavers group | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | THE STUDY AND DEVELOPMENT OF SILK AND PINEAPPLE FIBER TEXTILES FOR LIFESTYLE FASHION PRODUCTS : A CASE STUDY OF SILK WEAVERS GROUP, BAAN TA RUEA, NAWA DISTRICT, NAKHON PHANOM PROVINCE | en |
dc.title | การศึกษาและพัฒนาผ้าไหมผสมใยสับปะรดเพื่อผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์ กรณีศึกษากลุ่มทอผ้าไหมบ้านท่าเรือ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | College of Creative Industry |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs601130208.pdf | 11.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.