Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/551
Title: FASHION PSYCHOLOGY, THE DEVELOPMENT OF INTERACTIVE MEDIA FOR ACKNOWLEDGEMENT
การพัฒนามัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์จากทฤษฏีจิตวิทยาแฟชั่น เพื่อการรับรู้
Authors: PATARARIN PONGPRASIT
ภทรฤน พงษ์ประสิทธิ์
Ravitep Musikapan
รวิเทพ มุสิกะปาน
Srinakharinwirot University. College of Creative Industry
Keywords: จิตวิทยาแฟชั่น
ทฤษฎีนพลักษณ์ทั้ง 9
มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์
Fashion Psychology
Interactive Media
Issue Date:  20
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The aims of this research are as follows : (1) to study the psychology of personality in order to develop the perception of fashion psychology; (2) to apply the fashion psychology process to develop interactive multimedia media. The population was defined in the research as a combination of Enneagram theory and twenty-first-century skills. The sample group of this research consisted of one hundred and forty people, consisting of Grade twelve students interested in fashion design and the first-year fashion design students. The research model was a combined research method.In terms of qualitative research content analysis method and descriptive research was used. The research found that knowledge of fashion psychology was created with elements according to the question-answer psychology principle, which can be summarized as a set of fifteen questions and nine types of answers to describe the characteristics of each personality that were divided into a set of answers for learners and a set of answers for instructors. It can be used to produce interactive multimedia media in an exhibition in the future. The knowledge obtained from this research can be used to develop learners and teachers for teaching and obtaining appropriate knowledge in the future which includes reducing the gap between both learners and instructors.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. ศึกษาจิตวิทยาบุคลิกภาพเพื่อพัฒนาประเภทการรับรู้ของจิตวิทยาแฟชั่น2. เพื่อนำกระบวนการทางจิตวิทยาแฟชั่นมาพัฒนาผ่านสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์ มีการกำหนดประชากรในงานวิจัยเป็น หลักสูตรการสอนออกแบบแฟชั่น ทฤษฎีนพลัพษณ์ทั้ง 9และทักษะศตวรรษที่ 21และมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน140ท่านประกอบด้วย กลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สนใจการออกแบบแฟชั่น และนิสิตภาควิชาออกแบบแฟชั่น ชั้นปีที่ 1 โดยผู้วิจัยใช้การเลือกสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงกลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 5ชนิด คือ 1) แบบสังเกตการณ์ 2)การสัมภาษณ์เชิงลึก3) การสร้างแบบทดสอบบุคลิกภาพ และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็น5)แบบประเมิณ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี โดยการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาแล้วเขียนบรรยายเชิงพรรณนา และมีการวัดผลในเชิงปริมาณ  ผลการวิจัยพบว่า องค์ความรู้ด้านจิตวิทยาแฟชั่น ถูกสร้างขึ้นด้วยองค์ประกอบตามหลักการจิตวิทยา แบบถาม-ตอบ โดยสามารถสรุปได้เป็นชุดคำถามจำนวน 15ข้อ สำหรับใช้ในการค้นหาลักษณ์ และชุดผลลัพธ์จำนวน 9แบบ เพื่ออธิบายลักษณ์ของแต่ละบุคลิกภาพ โดยแบ่งออกเป็นชุดผลลัพธ์สำหรับผู้เรียน และชุดผลลัพธ์สำหรับผู้สอน และสามารถนำมาผลิตเป็นสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์ภายในนิทรรศการได้ในอนาคต องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้สามารถนำใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และผู้สอน สำหรับการสอน และการได้รับความรู้อย่างเหมาะสมได้ในอนาคต รวมถึงลดช่องว่างระหว่างผู้เรียน และผู้สอนอีกด้วย
Description: MASTER OF FINE ARTS (M.F.A.)
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/551
Appears in Collections:College of Creative Industry

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130205.pdf11.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.