Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/522
Title: PSYCHOSOCIAL FACTORS RELATED TO  BEHAVIORAL CONSUMPTION OF HEALTH PRODUCTS WITH INTELLIGENCE THROUGH SOCIAL MEDIA AMONG UNDERGRADUTE STUDENTS AT UNIVERSITIES IN THE BANGKOK METROPOLITAN AREA
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยปัญญาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
Authors: LUKKANA KAEWRUANG
ลัคนา แก้วเรือง
Pitchayanee Poonpol
พิชญาณี พูนพล
Srinakharinwirot University. BEHAVIORAL SCIENCE RESEARCH INSTITUTE
Keywords: พฤติกรรมการบริโภคด้วยปัญญา
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สื่อสังคมออนไลน์
นักศึกษาปริญญาตรี
Intellectual media consumption behavior
Health products
Social media
Undergraduate students
Issue Date:  15
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The objectives of comparative correlation research were as follows: (1) to compare the behavior of the consumption of health products through social media awareness of the overall dimensions and sub-dimensions of undergraduate students with different bio-social characteristics; (2) to study the interaction between social situations and factors of psychological characteristics  and the interaction effect between social situation and psychological states on consumption behavior of health products through social media among undergraduate students of the overall dimensions and sub-dimensions; and (3) to find the significant factors and study the predictive power of social situations, psychological characteristics, factors on psychological states on consumption behavior of health products through social media behavior of undergraduate students of the overall dimensions and the sub-dimensions of social situations. The sample was consisted of four hundred and forty undergraduate students in the Bangkok metropolitan are a selected by proportional stratified random sampling. This research consisted of six instruments in the form of summated rating scales. The reliability with alpha coefficients was between .75 to .88.  The results of this study found the following: (1) female students had more intelligent consumption of health products through social media behavior than male students. (2) students at private universities had more intelligence consumption of health products through social media behavior than students in public universities; (3) The interaction between risk preference and influence of peer groups affected the intelligent consumption of health products through social media behavior overall and in the sub-dimensions (4) in overall terms, among the groups, psychological characteristics (risk preference, consciousness and social media literacy), social situations (socialization from family and the influence of peer groups) and psychological factors could mutually increase the predictive power of social situations, psychological characteristics and psychological states and the factors of behavior consumption of health products through social media with an awareness of the overall dimensions and sub-dimensions among  overall groups and sub-groups based on bio-social characteristics and ranged from 57.80%, 54.10%, 50.4% with a statistical significance of .05
การวิจัยสหสัมพันธ์เชิงเปรียบเทียบนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ (1) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยปัญญาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้านรวมและรายด้านจำแนกตามกลุ่มที่มีลักษณะชีวสังคมต่างกัน (2) เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางจิตลักษณะเดิม จิตลักษณะตามสถานการณ์ และลักษณะสถานการณ์ทางสังคมที่เกี่ยวข้องทั้งกลุ่มรวมและกลุ่มย่อย (3) เพื่อค้นหาตัวทำนายที่สำคัญและศึกษาปริมาณการทำนายพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยปัญญาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้งกลุ่มรวมและกลุ่มย่อยของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 440 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามเป็นมาตรประเมินค่า 6 ระดับทั้งหมด 8 ตอน มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่าอยู่ที่ระหว่าง .76 ถึง .89 ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาเพศหญิงมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยปัญญาด้านรวมและรายด้านมากกว่าเพศชาย (2) นักศึกษาในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยปัญญาด้านรวมและรายด้านมากกว่านักศึกษาในสาขาอื่น (3) พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาที่มีความชอบเสี่ยงน้อย ได้รับอิทธิพลจากเพื่อนจะมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยปัญญาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ทั้งด้านรวมและรายด้านมากกว่านักศึกษาในกลุ่มลักษณะอื่น (4) ปัจจัยภายในบุคคล (ความชอบเสี่ยงน้อย บุคลิกภาพแบบมีจิตสำนึก และการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์) กลุ่มจิตลักษณะตามสถานการณ์ (เจตคติที่ดีต่อพฤติกรรมการบริโภคฯ) และปัจจัยทางสังคมสภาพแวดล้อม (การถ่ายทอดทางสังคมจากครอบครัวและอิทธิพลจากเพื่อน) สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยปัญญาของนักศึกษาด้านรวมและรายด้านทั้งกลุ่มรวมและกลุ่มที่มีชีวสังคมที่แตกต่างกันโดยสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมด้านรวมได้ร้อยละ 57.8 54.0 และ 50.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Description: MASTER OF SCIENCE (M.S.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/522
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581130287.pdf3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.