Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/517
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SIPPAVICH KINGKAEW | en |
dc.contributor | สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว | th |
dc.contributor.advisor | Manop Wisuttipat | en |
dc.contributor.advisor | มานพ วิสุทธิแพทย์ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Faculty of Fine Arts | en |
dc.date.accessioned | 2020-03-11T03:50:25Z | - |
dc.date.available | 2020-03-11T03:50:25Z | - |
dc.date.issued | 20/12/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/517 | - |
dc.description | DOCTOR OF ARTS (D.A.) | en |
dc.description | ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) | th |
dc.description.abstract | This research on “Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) and the context of Cambodian musical culture is an ethnomusicological study based on both documentary research and fieldwork. The research aimed to explore the following factors: 1) the history and development of Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) in the Pre-Angkorian, Angkorian and Post-Angkorian periods; 2) the body of knowledge on Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) concerning the components of the instrument, performance in the Kong Nay’s (គង់ណៃ) style, songs, Chapey-making, and musicians; and 3) the roles, functions and concepts of Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) in Cambodian musical culture and the relationship between Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) and Krachappi in Thai musical culture. In this research, (គង់ ណៃ) the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) of Kong Nay was used as a case study, and descriptive analysis was employed. The research findings were as follows: (1) the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) is a musical instrument influenced by the Veena,a family of Indian string instruments, which had been documented in the Pre-Angkorian period. There are mentions of Veena in two inscriptions, namely the Tuol Wat Kumnuu (ទួលវត្តគំនូរ) inscription, and the Prasat Lalai (លលៃ) inscription; (2) the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) had ten components reflecting their religious beliefs. The performance of the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) in the style of Kong Nay (គង់ ណៃ) required both basic training and Chamrieng Chapey (ចម្រៀងចាប៉ី) training. There are many songs for ceremonial occasions, for instance, feasts for the deity, wedding ceremonies, and for accompanying Kar Chamrieng (ការចម្រៀង). The making of the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) was developed in order to maintain beautiful sounds and traditional thoughts and beliefs. The most distinguished Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) performers both inside and outside of Cambodia have been Kong Nay (គង់ ណៃ); (3) the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) plays many roles in Cambodian musical culture, namely as the instrument used in Vong Pleng Mahori (វង់មលេងរមោរី), to accompanying Chamrieng Chapey singing (ការចម្រៀងចាប៉ី) and for ritual functions in Vong Pleng Arak (វង់មលេងអារក្ស), Vong Pleng Kar (វង់មលេងការ) and Vong Pleng Preah Bitor (វង់មលេង្រះបិត្រ). The Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) has been conceptualized in Cambodian society as a musical instrument that communicates knowledge, and provides both entertainment and information. It also plays a role in Cambodian belief systems, especially in terms of customs, rituals and as a symbol of prosperity. Due to their similarities, the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) is believed to have a connection with the Krachappi in Thai musical culture. The latter is hypothetically influenced by the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង). In the past, both the Krachappi and the Chapey Dong Veng (ចាប៉ីដងវែង) were part of the Mahori ensemble, but nowadays the Krachappi is not as popular as it once was. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង): บริบททางวัฒนธรรมดนตรีกัมพูชา เป็นงานวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยา เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและข้อมูลภาคสนาม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) ในสมัยก่อนเมืองพระนคร สมัยเมืองพระนคร และสมัยหลังเมืองพระนคร 2) องค์ความรู้ของ จาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) เกี่ยวกับส่วนประกอบ วิธีการบรรเลงแบบคง่ ไณ (គង់ណៃ) เพลง การสร้างและนักดนตรี 3) บทบาทหน้าที่และ มโนทัศน์ของจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) ในวัฒนธรรมดนตรีกัมพูชาและความเชื่อมโยงของจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) กับกระจับปี่ในวัฒนธรรมดนตรีไทย โดยใช้จาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) แบบคง่ ไณ (គង់ ណៃ) เป็นกรณีศึกษา และได้นำเสนอผลการศึกษาแบบการพรรณาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า 1) จาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับอิทธิพลมาจากเครื่องดนตรีตระกูลวีณาของอินเดีย พบว่ามีมาสมัยก่อนเมืองพระนครดังปรากฏหลักฐานคำ “วีณา” ในศิลาจารึก 2 หลัก ได้แก่ ศิลาจารึกทวลวตฺตคํนูร (ទួលវត្តគំនូរ) และศิลาจารึกปราสาทลไล (លលៃ) ที่ได้กล่าวถึงเครื่องดนตรี “วีณา” 2) องค์ความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) มี 10 ส่วนซึ่งแฝงด้วยคติและความเชื่อทางศาสนา วิธีการบรรเลงจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) ซึ่งศึกษาแบบคง่ ไณ (គង់ណៃ) มีขั้นตอนการฝึกตั้งแต่ขั้นพื้นฐานจนถึงการฝึกจเมฺรียงจาบุี (ចម្រៀងចាប៉ី) เพลงที่ใช้บรรเลงมีจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นเพลงที่ใช้ในพิธีเลี้ยงอารักษ์ พิธีแต่งงาน และประกอบการจเมฺรียง (ការចម្រៀង) การสร้าง จาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) ได้พัฒนาให้ได้คุณภาพเสียงที่ไพเราะ และคงคติความเชื่อดั้งเดิมไว้ นักดนตรีจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវេង) ที่ได้รับการยอมรับจากสังคมภายในและภายนอกกัมพูชาในปัจจุบันคือคง่ ไณ (គង់ ណៃ) 3) การศึกษาบทบาทของจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) พบว่าใช้เพื่อขับกล่อมในวง่เภฺลงมโหรี (វង់ភ្លេងមហោរី) ประกอบการจมฺเรียงจาบุี (ការចម្រៀងចាប៉ី) และใช้บรรเลงประกอบพิธีกรรมใน วง่เภฺลงอารกฺส (វង់ភ្លេងអារក្ស) วง่เภฺลงการ คือ(វង់ភ្លេងការ) และวง่เภฺลงพฺระบิตร (វង់ភ្លេងព្រះបិតរ) มโนทัศน์ของจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) ในสังคมกัมพูชาคือเครื่องดนตรีที่ทำหน้าที่สื่อสารกับคนในสังคม ทั้งเรื่องความรู้ ความบันเทิง และการประชาสัมพันธ์ข่าวสารมีอิทธิพลต่อความเชื่อของชาวกัมพูชาโดยเฉพาะในประเพณี พิธีกรรม และเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นสิริมงคล ส่วนความเชื่อมโยงของจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) กับกระจับปี่ในวัฒนธรรมดนตรีไทยนั้น มีความเข้าใจว่ากระจับปี่ได้รับอิทธิพลมาจากจาบุีฏงแวง (ចាប៉ីដងវែង) เพราะเครื่องดนตรีทั้งสองชนิดมีลักษณะคล้ายกัน ในอดีตบทบาทและหน้าที่ของกระจับปี่และจาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង) ใช้บรรเลงในวงมโหรีเช่นเดียวกัน แต่ปัจจุบันกระจับปี่ไม่นิยมนำมาบรรเลงแล้ว | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | จาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង៑) | th |
dc.subject | บริบทวัฒนธรรม | th |
dc.subject | วัฒนธรรมดนตรีเขมร | th |
dc.subject | Chapei Dong Veng | en |
dc.subject | Cultural context | en |
dc.subject | Traditional Khmer Music | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | CHAPEI DONG VENG: THE CULTURAL CONTEXT OF TRADITIONAL KHMER MUSIC | en |
dc.title | จาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង): บริบทวัฒนธรรมดนตรีกัมพูชา | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Fine Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs591150032.pdf | 30.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.