Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorVACHIRA SAMKONGAMen
dc.contributorวชิระ สามกองามth
dc.contributor.advisorJaemjan Sriarunrasmeeen
dc.contributor.advisorแจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-12-18T03:44:37Z-
dc.date.available2019-12-18T03:44:37Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/424-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were achievement and pursuit learning  using the inquiry - based  learning method (5E) with information technology teaching for social studies learning management among tenth grade students. The samples in the study consisted  thirty four of Grade Ten students at Satriwitthaya school students,who were select by Cluster Random Sampling. The instrument used in the study included lesson plans using the inquiry learning method(5E) with information technology,including  two plans,with twenty items on the achievement test topic and twenty items on the Pursuit learning  assessment rating scale  The research results revealed the following (1) students in the experimental group used an inquiry - based learning method (5E) with information technology, which had higher posttest scores than the achievement pretest at a .05 level of significance; (2)  the students in the experimental group used the inquiry - based learning method (5E) with information technology, which had  higher posttest scores than the Pursuit learning pretest, with a .05 level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความใฝ่รู้ใฝ่เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดการเรียนการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสตรีวิทยา จำนวน 34 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562  ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน  2 แผน 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ 4 ตัวเลือก จำนวน  20 ข้อ มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.43 – 0.77 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.40 – 0.86  และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ  0.98  3) แบบวัดความใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ จำนวน 20 ข้อ ใช้แบบแผนการวิจัยแบบกึ่งทดลองหนึ่งกลุ่ม ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน(One – group Pretest- Posttest Design)วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ(t-test for dependent) ผลการวิจัยพบว่า1. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หลังเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  2. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หลังเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectสังคมศึกษา การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความใฝ่รู้ใฝ่เรียนth
dc.subjectsocial studies inquiry learning method (5E) information technology achievement pursuit learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleSTUDY OF ACHIEVEMENT AND PURSUIT LEARNING USING AN INQUIRY - BASED  LEARNING METHOD (5E) WITH INFORMATION TECHNOLOGY TEACHING FOR SOCIAL STUDIES LEARNING MANAGEMENT AMONG TENTH GRADE STUDENTS. en
dc.titleการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความใฝ่รู้ใฝ่เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้(5E) ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดการเรียนการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571130076.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.