Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/348
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRUNGNAPA WEERAPONGen
dc.contributorรุ่งนภา วีระพงษ์th
dc.contributor.advisorChamaiporn Disathapornen
dc.contributor.advisorชไมพร ดิสถาพรth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-12-17T01:43:41Z-
dc.date.available2019-12-17T01:43:41Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/348-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were as follows (1) to study the characteristics of curiosity (2) to investigate educational management to enhance student learning (3) to provide guidelines to enhance the characteristic of curiosity among students in small secondary schools in Suphanburi. The samples consisted of three hundred and sixty-six students, with eighteen principles four teachers and four parents. at small secondary schools in Suphanburi. They were selected by Simple Random Sampling. The research instrument was a five point rating scale.The data collected from the investigation were analysed through the use of frequencies, percentage, mean, standard deviation and In-depth interview. The demonstrable results were as follows: an overview of the level of the characteristic of curiosity among students was at a fairly good level. The layer of curiosity behavior can be divided into five main aspects; concentration, effort, self-study, curiosity, and creativity. The level of concentration, effort, and self-study were at an above average level, while the level of curiosity and creativity were at a moderate level. There were some guidelines to develop student learning behavior, with the following composite factors; (1) academic section; (2) education budget; (3) personnel; 4) general section especially.en
dc.description.abstractความมุ่งหมายของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาความใฝ่เรียนรู้ของผู้เรียน 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความใฝ่เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความใฝ่เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก จังหวัดสุพรรณบุรี เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .927 และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1) ประชากรของการศึกษาความใฝ่เรียนรู้ของผู้เรียนคือผู้เรียนชั้น ม.1-6 จำนวน 2,912 คน และ 2) ประชากรของการศึกษาและเสนอแนวทางการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความใฝ่เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนคือโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 11 โรงเรียน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง กำหนดขนาดตัวอย่างโดยการเปิดตารางของเครจซี่และมอร์แกนที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 366 คน และกลุ่มตัวอย่างของการศึกษาและเสนอแนวทางการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความใฝ่เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน กำหนดขนาดตัวอย่าง  จำนวน 2 โรงเรียน แล้วใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เพื่อให้ได้ผู้บริหารโรงเรียนและบุคลากรสายบริหารรวม 18 คน ครูผู้สอน 4 คน นักเรียน 4 คน และผู้ปกครอง 4 คน  ผลการวิจัยพบว่า ความใฝ่เรียนรู้ของผู้เรียนในภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก โดยพฤติกรรมมุ่งมั่นตั้งใจ มีความพยายามและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง อยู่ในระดับค่อนข้างมาก  พฤติกรรมอยากรู้อยากเห็น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ อยู่ในระดับปานกลาง  และแนวทางบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความใฝ่เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนสามารถบริหารจัดการโรงเรียนโดยแบ่งเป็น 4 ด้าน คือด้านงานวิชาการ งานงบประมาณ งานบุคคล และงานทั่วไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการบริหารจัดการศึกษา ความใฝ่เรียนรู้th
dc.subjectEducation management Curiosity enhancementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE EDUCATIONAL MANAGEMENT TO ENHANCE CURIOSITY CHARACTERISTIC OF THE STUDENT IN SUPHANBURI en
dc.titleแนวทางการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความใฝ่เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนในจังหวัดสุพรรณบุรีth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571130108.pdf4.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.