Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPORNSUDA TUNNAen
dc.contributorพรสุดา ทันนาth
dc.contributor.advisorPan Tongraungen
dc.contributor.advisorแพน ทองเรืองth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2019-12-17T01:25:58Z-
dc.date.available2019-12-17T01:25:58Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/332-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis study aimed to develop an analogy learning approach on the topic of covalent bond for Grade 10 students. The academic achievement and scientific reasoning ability were compared between students who learned about covalent bond through the analogy learning approach and other students who learned the topic using a conventional method. The research instruments included (1) lesson plans using the analogy learning approach and the conventional method; (2) a learning achievement test; and (3) a scientific reasoning ability test. The analogy learning approach and conventional method efficiency E1/E2 were 72.56/72.29 and 71.85/70.66 respectively, which was under the threshold of 70/70. The population was Grade 10 students from an extra-large secondary school in Bangkok, during the first semester of the 2018 academic year and selected using the cluster random sampling method. They were divided into two groups. The experimental group consisted of thirty-five students who learned using the analogy learning approach and the control group of thirty-five students learned using the conventional method. The findings revealed that the t-test for dependent sample indicated that the students who learned about covalent bond through the analogy learning approach significantly increased their learning achievement and scientific reasoning ability after learning better than before at a statistically significant level of .05. The t-test for independent sample showed that the students who learned about covalent bond through the analogy learning approach gained significantly in terms of learning achievement and scientific reasoning ability better than the students who learned the topic through conventional method at a statistically significant level of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการสอนแบบอุปมาอุปไมย เรื่องพันธะโคเวเลนต์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการสอนแบบอุปมาอุปไมยกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการสอนแบบอุปมาอุปไมยและแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3. แบบทดสอบวัดความสามารถการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ จากการศึกษาพบว่า การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการสอนแบบอุปมาอุปไมยและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เรื่องพันธะโคเวเลนต์ มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 72.56/72.29 และ 71.85/70.66 ตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 70/70 ที่กำหนด และจากการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการสอนแบบอุปมาอุปไมยและการจัดการเรียนรู้แบบปกติกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ห้องเรียน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (cluster random sampling) แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง คือ นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการสอนแบบอุปมาอุปไมย 1 ห้องเรียน จำนวน 35 คน และกลุ่มควบคุม คือ นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 1 ห้องเรียน จำนวน 35 คน ผลการวิจัย พบว่า จากสถิติทดสอบที (t-test for dependent samples) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการสอนแบบอุปมาอุปไมยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และจากสถิติทดสอบที (t-test for independent samples) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคแบบอุปมาอุปไมยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05th
dc.language.isoth-
dc.publisherSrinakharinwirot University-
dc.rightsSrinakharinwirot University-
dc.subjectการอุปมาอุปไมยth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์th
dc.subjectพันธะโคเวเลนต์th
dc.subjectanalogy learning approachen
dc.subjectacademic achievementen
dc.subjectscientific reasoningen
dc.subjectcovalent bonden
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDEVELOPMENT OF ACHIEVEMENT IN CHEMISTRY AND SCIENTIFIC REASONING BY THE ANALOGY LEARNING APPROACH FOR GRADE 10 STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องพันธะโคเวเลนต์ และความสามารถการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ ด้วยเทคนิคการสอนแบบอุปมาอุปไมย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581110156.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.