Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/3117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTITISAN RUMCHATSAKULen
dc.contributorธิติสันติ์ ร่วมชาติสกุลth
dc.contributor.advisorNavara Seeteeen
dc.contributor.advisorณวรา สีทีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2025-05-14T06:49:10Z-
dc.date.available2025-05-14T06:49:10Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/3117-
dc.description.abstractScientific reasoning is one of the goals of science teaching and learning. Previous studies about the scientific reasoning abilities of Thai middle-school students found that they were not able to reason scientifically, thus affecting the development of scientific competencies. This research aimed to develop the scientific reasoning abilities of grade seven students using a model-based inquiry on the topic of matter. The research was mixed methods research and used an embedded design. The research participants were 80 grade seven students at a school in Saraburi province and selected by purposive sampling. The instruments were four lesson plans on the topic of matter and the parallel pre- and post-scientific reasoning abilities tests. The data were analyzed by mean, standard deviation and a t-test for dependent samples. The qualitative data (teacher’s notes and students' worksheet) were analyzed by thematic analysis. The results revealed that the average post-test scores on the scientific reasoning abilities of the students were higher than pretest scores at the .05 level of statistical significance. The qualitative data showed that questioning and model construction with questioning can promote scientific reasoning abilities. This research indicates that students can develop their scientific reasoning abilities through model-based inquiry learning.en
dc.description.abstractการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในเป้าหมายของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ การศึกษาเกี่ยวกับความสามารถในการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนไทยในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ผ่านมา พบว่า นักเรียนไม่สามารถให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ได้เท่าที่ควร ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง สารรอบตัว การดำเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสานโดยใช้แบบแผนแบบรองรับภายใน ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 80 คน ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดสระบุรี ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สารรอบตัวจำนวน 4 แผน และแบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์แบบคู่ขนานสำหรับวัดก่อนและหลังเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์แก่นสาระจากบันทึกหลังสอนและใบงาน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่า การใช้คำถามและการสร้างแบบจำลองร่วมกับการใช้คำถามช่วยส่งเสริมความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานสามารถพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานth
dc.subjectการวิจัยเชิงผสมผสานth
dc.subjectนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นth
dc.subjectMixed-method researchen
dc.subjectMiddle school studentsen
dc.subjectModel-based inquiryen
dc.subjectScientific reasoningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleDEVELOPMENT OF 7TH-GRADE STUDENTS’ SCIENTIFIC REASONING ABILITIES USING MODEL-BASED INQUIRYen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ด้วยการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNavara Seeteeen
dc.contributor.coadvisorณวรา สีทีth
dc.contributor.emailadvisorsuwapid@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsuwapid@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130113.pdf6.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.