Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/3043
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | CHAWAPORN KLONGPITAYAPONG | en |
dc.contributor | ชวพร คล่องพิทยาพงษ์ | th |
dc.contributor.advisor | Chinalai Piyachon | en |
dc.contributor.advisor | ชินาลัย ปิยะชน | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2024-12-11T08:48:21Z | - |
dc.date.available | 2024-12-11T08:48:21Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 19/7/2024 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/3043 | - |
dc.description.abstract | This study aims to evaluate the antibacterial property of 2% Chlorhexidine gluconate (CHX) gel, newly developed at the Faculty of Dentistry at Srinakharinwirot University. The efficacy against Enterococcus faecalis of three different intracanal medicaments, the newly developed chlorhexidine gel, ConsepsisV chlorhexidine gel and UltraCalTMXS, were evaluated with human tooth root models and extracted permanent lower premolars with single root canal were selected. Sixty teeth were randomly divided into three groups of 20 teeth, in order to repeat experiment protocol three times. The teeth were inoculated with Enterococcus faecalis for 21 days and assigned into four groups depended on root canal medicaments and one control group (n=5). Colony-forming units (CFU/ml) were counted after seven days of incubation. The data were analyzed by Kruskal-Wallis and Mann-Whitney U test and the results showed that the newly developed CHX gel and ConsepsisV gel showed the significant lower CFU/ml when compared to UltraCalTMXS and the control group, without medicament. There was no significant difference between CFU/ml of newly developed CHX gel and ConsepsisV (p=0.454). It was concluded that our newly developed 2% CHX gel is an effective antibacterial agent against Enterococcus faecalis and comparable to ConsepsisV. | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณสมบัติการต้านเชื้อแบคทีเรียของเจล คลอเฮกซิดีนความเข้มข้นร้อยละ 2 ที่พัฒนาขึ้นใหม่ที่คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ทำการประเมินประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อเอ็นเทอโรคอคคัส ฟีคัลลิสของยาใส่ในคลองรากฟัน 3 ชนิดคือ เจลคลอเฮกซิดีนความเข้มข้นร้อยละ 2 ที่พัฒนาขึ้นใหม่ เจลคลอเฮกซิดีนคอนเซปซิสวีและอัลตราแคลเอกซ์เอส ทำการทดลองในฟันถอนกรามน้อยล่างแท้รากเดียวจำนวน 60 ซี่ ทดสอบรอบละ 20 ซี่ ทดสอบซ้ำ 3 รอบ ในแต่ละรอบแบ่งกลุ่มทดลอง 3 กลุ่มและกลุ่มควบคุมลบคือไม่ใส่ยาในคลองรากฟัน 1 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซี่ เพาะเชื้อเอ็นเทอโรคอคคัสฟีคัลลิสในคลองรากฟัน 21 วัน จากนั้นนำมาใส่ยาเป็นระยะเวลา 7 วัน ตรวจนับปริมาณเชื้อในหน่วยโคโลนีฟอร์มมิงยูนิตต่อมิลลิลิตร วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการทดสอบครัสคาล-วัลลิสและการทดสอบแมนวิทนีย์ยู ผลการศึกษาพบว่าเจลคลอเฮกซิดีนที่พัฒนาขึ้นใหม่และเจลคลอเฮกซิดีนคอนเซปซิสวีมีค่าเฉลี่ยจำนวนเชื้อน้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มอัลตราแคลเอกซ์เอสและกลุ่มควบคุมลบ โดยไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างเจล คลอเฮกซิดีนความเข้มข้นร้อยละ 2 ที่พัฒนาขึ้นใหม่และเจลคลอเฮกซิดีนคอนเซปซิสวี การศึกษาครั้งนี้สรุปว่าเจลคลอเฮกซิดีนความเข้มข้นร้อยละ 2 ที่พัฒนาขึ้นใหม่มีประสิทธิภาพการต้านเชื้อเอ็นเทอโรคอคคัส ฟีคัลลิสในคลองรากฟันได้ดีไม่แตกต่างกับเจลคลอเฮกซิดีนคอนเซปซิสวี | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | เอ็นเทอโรคอคคัส ฟีคัลลิส | th |
dc.subject | โคโลนีฟอร์มมิงยูนิตต่อมิลลิลิตร | th |
dc.subject | เจลคลอเฮกซิดีน | th |
dc.subject | การรักษาคลองรากฟัน | th |
dc.subject | Enterococcus faecalis | en |
dc.subject | Colony Forming Unit | en |
dc.subject | Chlorhexidine gel | en |
dc.subject | Root canal treatment | en |
dc.subject.classification | Dentistry | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Dental studies | en |
dc.title | ANTIBACTERIAL EFFICACY OF NEWLY DEVELOPED 2% CHLORHEXIDINE GEL AGAINST ENTEROCOCCUS FAECALIS INOCULATED IN ROOT CANALS : IN VITRO STUDY | en |
dc.title | ประสิทธิภาพการต้านเชื้อของเจลคลอเฮกซิดีนความเข้มข้นร้อยละ 2 ที่พัฒนาขึ้นใหม่ต่อ เชื้อเอ็นเทอโรคอคคัส ฟีคัลลิสในคลองรากฟัน : การศึกษาในห้องปฏิบัติการ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chinalai Piyachon | en |
dc.contributor.coadvisor | ชินาลัย ปิยะชน | th |
dc.contributor.emailadvisor | chinalai@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | chinalai@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | MASTER OF SCIENCE (M.Sc.) | en |
dc.description.degreename | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | Faculty of Dentistry |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs641110039.pdf | 1.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.