Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2971
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYUKI TAKAHASHIen
dc.contributorยูกิ ทาคาฮาชิth
dc.contributor.advisorNarathip Thumawongsaen
dc.contributor.advisorนราธิป ธรรมวงศาth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-12-11T08:23:27Z-
dc.date.available2024-12-11T08:23:27Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued19/7/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2971-
dc.description.abstractThis study investigates verb errors among Thai EFL learners from Generation Z and Generation Alpha, aiming to compare error types and sources. A mixed-methods approach adapted from Corder’s (1981) error analysis was utilized and 300 written assignments from both generations were analyzed using Grammarly. Generation Z produced 466 errors, significantly more than Generation Alpha's 355 errors, with both cohorts exhibiting a nhierarchy of errors, primarily misformation, omission, addition, and misordering. While Generation Z showed higher overall error detection, Generation Alpha displayed higher rates of specific error forms, such as singular/plural verb usage and expletive construction difficulties. Interlingual interference was the primary error source for both, with Generation Z showing a higher frequency; however, Generation Z exhibited a wider range of error subtypes. These findings emphasize the balance role of L1 and L2 in EFL classrooms and the importance of teacher monitoring in autonomous learning environments. The study suggests insights for EFL teachers to employ appropriate teaching strategies in writing classes for each generation.en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้มีเพื่อศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้คำกิริยาของผู้เรียน EFL ชาวไทยกลุ่ม Gen Z  และกลุ่ม Gen Alpha โดยมีเป้าหมายเพื่อเปรียบเทียบประเภทและที่มาของข้อผิดพลาด ใช้วิธีวิจัยแบบผสานวิธี (mixed-methods approach) ซึ่งปรับปรุงมาจากการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดของคอร์เดอร์ (Corder’s error analysis) โดยได้นำงานเขียนที่ผู้เรียนได้รับมอบหมายให้ทำจำนวน 300 งานจากกลุ่มผู้เรียนภาษาทั้งสองเจนเนอร์เรชั่นมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมแกรมมารี (Grammarly) จากผลการศึกษา พบว่างานเขียนของกลุ่ม Gen Z มีข้อผิดพลาด 466 จุด ซึ่งสูงกว่างานเขียนจากกลุ่ม Gen Alpha อย่างมีนัยสำคัญ (พบจุดผิดทั้งหมด 355 จุด) โดยผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นข้อผิดพลาดที่เพิ่มขึ้นเป็นลำดับขั้น  ข้อผิดพลาดหลักนั้นเกิดจาก ข้อมูลที่ผิด ความละเลย การต่อเติมข้อมูล และการเรียงลำดับผิด ขณะที่ผู้เรียนกลุ่ม Gen Z มีจุดผิดพลาดโดยรวมมากกว่า อย่างไรก็ตามกลับสร้างข้อผิดพลาดด้านโครงสร้างในอัตราที่สูงกว่า เช่น การใช้กริยาเอกพจน์และพหุพจน์ และความยากจากการใช้ประโยคที่มีส่วนเสริม (Expletive construction) ทั้งนี้การแทรกแซงระหว่างภาษา (Interlingual interference) เป็นสาเหตุของความผิดพลาดขั้นต้นสำหรับผู้เรียนทั้งสองกลุ่ม ซึ่งผู้เรียนกลุ่ม Gen Z มักมีความผิดพลาดเช่นนี้บ่อยครั้งกว่า อีกทั้งยังสร้างจุดผิดย่อย (subtypes) หลากหลายประเภทเช่นเดียวกัน โดยสรุปแล้ว ข้อค้นพบนี้แสดงให้เห็นถึงสมดุลของบทบาททั้ง L1 และ L2 ในห้องเรียน EFL และความสำคัญของการดูแลสอดส่องของครูในสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ด้วยตนเอง (autonomous learning) ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงให้ข้อเสนอแนะว่าครูผู้สอน EFL ควรนำกลยุทธ์การสอนที่มีประสิทธิภาพมาใช้ในชั้นเรียนที่สอนการเขียนสำหรับผู้เรียนแต่ละเจเนเนชั่นอย่างเหมาะสมth
dc.language.isoen
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดth
dc.subjectนักเรียนไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศth
dc.subjectข้อผิดพลาดในการเขียนth
dc.subjectข้อผิดพลาดในการใช้คำกริยาth
dc.subjectError analysisen
dc.subjectThai EFL studentsen
dc.subjectWriting errorsen
dc.subjectVerb errorsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationForeign languagesen
dc.titleAI-ASSISTED VERB ERROR ANALYSIS OF THAI EFL GENERATION Z AND GENERATION ALPHA STUDENTS IN THAILANDen
dc.titleการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการใช้คำกริยาของนักเรียนเจเนอร์เรชั่นซีและเจเนอร์เรชั่นอัลฟ่าในประเทศไทยโดยใช้เครื่องมือเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNarathip Thumawongsaen
dc.contributor.coadvisorนราธิป ธรรมวงศาth
dc.contributor.emailadvisornarathip@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornarathip@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.description.degreenameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment of Western Languagesen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาภาษาตะวันตกth
Appears in Collections:Faculty of Humanities

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130328.pdf4.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.