Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2953
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNANTHIYA PHUANGTHONGen
dc.contributorนันทิยา พวงทองth
dc.contributor.advisorPitchada Prasittichoken
dc.contributor.advisorพิชชาดา ประสิทธิโชคth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-07-11T06:43:55Z-
dc.date.available2024-07-11T06:43:55Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/5/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2953-
dc.description.abstractThis aims of this study are as follows: (1) the experimental group had significantly higher average scores in assertive behavior compared to the control group; and (2) the experimental group had a significantly higher average scores in the post-program on assertive behavior compared to pre-program.The purposive sampling method was employed to select 40 participants, with 20 people in the experimental group who participated in the program and 20 people in the control group who did not. The data were collected using questionnaires on assertive behavior and perceived self-efficacy promoting program with experiential learning on assertive behavior. The statistical analysis included basic statistics, an independent t-test and a paired t-test. The results indicated the following: (1) the experimental group, after participating in the program, exhibited significantly higher average perceived self-efficacy scores compared to the control group (p < .05); (2) in the experimental group, post-program perceived self-efficacy scores were significantly higher than pre-program scores (p < .05); (3) the experimental group, after participating in the program, exhibited significantly higher average assertive behavior scores compared to the control group (p < .05); and (4) in the experimental group, post-program assertive behavior scores were significantly higher than pre-program scores (p < .05).en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยด้านพฤติกรรมการกล้าแสดงออกระหว่างนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่เข้าร่วมโปรแกรมและนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่ไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรม และ 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยด้านพฤติกรรมการกล้าแสดงออกระหว่างก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและหลังเข้าร่วมโปรแกรมของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่เข้าร่วมโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามพฤติกรรมการกล้าแสดงออก และโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถในตนเองด้วยการจัดการเรียนรู้เน้นประสบการณ์ที่มีต่อพฤติกรรมการกล้าแสดงออก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สถิติในการทดสอบสมมติฐานค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม (เป็นอิสระจากกัน) และสถิติในการทดสอบสมมติฐานค่าเฉลี่ยของประชากรแบบจับคู่ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่เข้าร่วมโปรแกรมมีคะแนนเฉลี่ยด้านการรับรู้ความสามารถในตนเองสูงกว่านักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่ไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่เข้าร่วมโปรแกรมมีคะแนนเฉลี่ยด้านการรับรู้ความสามารถในตนเองหลังเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่เข้าร่วมโปรแกรมมีคะแนนเฉลี่ยด้านพฤติกรรมการกล้าแสดงออกสูงกว่านักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่ไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่เข้าร่วมโปรแกรมมีคะแนนเฉลี่ยด้านพฤติกรรมการกล้าแสดงออกหลังเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เน้นประสบการณ์th
dc.subjectการรับรู้ความสามารถในตนเองth
dc.subjectพฤติกรรมการกล้าแสดงออกth
dc.subjectนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินth
dc.subjectExperiential learningen
dc.subjectPerceived self-efficacyen
dc.subjectAssertive behavioren
dc.subjectDeaf studentsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleTHE EFFECTS OF PERCEIVED SELF-EFFICACY PROMOTING PROGRAM WITH  EXPERIENTIAL LEARNING ON ASSERTIVE BEHAVIOR FOR DEAF STUDENTSen
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถในตนเองด้วยการจัดการเรียนรู้เน้นประสบการณ์ที่มีต่อพฤติกรรมการกล้าแสดงออกของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPitchada Prasittichoken
dc.contributor.coadvisorพิชชาดา ประสิทธิโชคth
dc.contributor.emailadvisorpitchada@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorpitchada@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF SCIENCE (M.S.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs641130127.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.