Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/292
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTIPPAWAN DATESONGen
dc.contributorทิพวรรณ เดชสงค์th
dc.contributor.advisorChatupol Yongsornen
dc.contributor.advisorจตุพล ยงศรth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-16T03:08:16Z-
dc.date.available2019-10-16T03:08:16Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/292-
dc.descriptionDOCTOR OF EDUCATION (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were as follows: 1) to study the components of the character of advisory science teachers for science students; 2) to develop a training package to enhance the character of advisory science teachers 3) to evaluate science students using a training package to enhance the character of advisory science teachers for science students. The samples consisted of four hundred and fifty-seven science students. The instruments used to collect the data included a five-point Likert scale of items on the engagement form with a reliability coefficient of 0.974. the evaluation form consisted of questions on skills assessment and satisfaction with their participation in the activity. The statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis and a dependent sample t-test. The results found the following: 1) the six factors consisted of advisor, counselor, coaching, supporter, progress tracker and stimulating learning. The Eigen values were 13.357, 3.726, 1.853, 1.454, 1.233, 1.095, respectively; 2) the development of a training package to enhance the character of advisory science teachers used a group discussion process. It was found that the a training package to enhance the character of advisory science teachers for science students were categorized into four parts, as follows the aims of the activities, the details of the activity, workshop collaboration, activities analysis and evaluation; 3) the evaluation results of a training package to enhance the character of advisory science teachers were capable of performing very well. They were satisfied with the overall training activities that were higher than the set criteria of a statistical significance level of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนิสิตนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ 2) เพื่อสร้างชุดฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนิสิตนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ และ 3) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้ชุดฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนิสิตนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 457 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับตามแบบของลิเคิร์ท ประกอบด้วย แบบสอบถามเพื่อใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.974 แบบประเมินบทบาทความสามารถในการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม สถิติที่ใช้ในการในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ และการเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยโดยการทดสอบที (t - test for independent sample) ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนิสิตนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ แบ่งออกได้ 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การเป็นผู้ให้คำแนะนำผู้เรียน การเป็นผู้ให้คำปรึกษาผู้เรียน  การเป็นผู้ฝึกผู้เรียน การเป็นผู้สนับสนุนผู้เรียน การเป็นผู้ติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน และการเป็นผู้สร้างแรงกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีค่าไอเกน 13.357, 3.726, 1.853, 1.454, 1.233, 1.095 ตามลำดับ 2) การสร้างชุดฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม พบว่าชุดฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ความมุ่งหมายของกิจกรรม รายละเอียดการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรม และการวัดและการประเมินผล ซึ่งประกอบด้วย 6 กิจกรรม และ 3) การประเมินประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ พบว่า นิสิตครูวิทยาศาสตร์หลังเข้าร่วมกิจกรรมมีบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมฝึกอบรมโดยรวมสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectชุดฝึกอบรมth
dc.subjectการเสริมสร้างบทบาทth
dc.subjectครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตรth
dc.subjectนิสิตนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์th
dc.subjectTraining packageen
dc.subjectCharacter enhancementen
dc.subjectAdvisory science teachersen
dc.subjectScience studentsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDEVELOPMENT OF A TRAINING PACKAGE TO ENHANCE THE CHARACTER OFADVISORY SCIENCE TEACHERS FOR SCIENCE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาชุดฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างบทบาทการเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์สำหรับนิสิตนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์th
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs561150010.pdf5.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.