Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorINTIRA PONGNAKen
dc.contributorอินทิรา พงษ์นาคth
dc.contributor.advisorRawiwan Wanwichaien
dc.contributor.advisorระวิวรรณ วรรณวิไชยth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-07-11T04:10:26Z-
dc.date.available2024-07-11T04:10:26Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/5/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2914-
dc.description.abstractThe purposes of this research are as follows: (1) to study the current and the desirable conditions of the Khon learning management model; (2) to develop a Khon learning management model; and (3) to study the effectiveness of the Khon learning management model to promote creative integration skills for secondary school students. The research was comprised of four phases. Phase One analyzed the current and desired conditions of the Khon learning management model to enhance creative integration skills among experts, teachers, and students. Phase Two involved designing and developing the model with 20 pilot study students. In Phase Three, the model was implemented with 30 secondary school students at Kannasoot Suksalai School in the 2023 academic year. Phase Four evaluated the effectiveness of the model, using an interview document analysis form, a group discussion and point recording form, and a creative integration skills assessment form. The instruments were the learning management handbook, assessment form for creative integration skills, and learning management model questionnaire. The qualitative data analysis involves examining content, themes, and patterns and quantitative data analysis relies on statistical measures such as means, standard deviations, and comparisons through techniques, such as a paired-sample t-test. The findings were as follows: (1) the current condition and desirable conditions of Khon learning management model, consisted of four main aspects: (1.1) the general condition of Khon teaching and learning practices; (1.2) student learning behaviors; (1.3) teacher instructional strategies, and (1.4) Integrative and creative learning approaches in Khon education. After synthesis, many Thai dance teachers prioritized theory over practical skills, and significantly reduced the basic skills needed for performances. Moreover, teachers needed to be more creative; (2) developed learning management model had two components; (2.1) principles of learning management; (2.2) objectives; (2.3) learning content; (2.4) organizing learning activities; (2.5) measurement and evaluation; and (2.6) factors contributing to success. The overall results of the evaluation of the appropriateness and feasibility of the model by senior experts were at the highest level. Additionally, the developed learning activity process, the "ILCAP MODEL," comprising five stages: Stage 1: Inspiration (I), Stage 2: Learning (L), Stage 3: Creativity (C), Stage 4: Assessment (A), and Stage 5: Presentation and Dissemination (P); (3) the experimental results and effectiveness study of the model were (3.1) the sample group exhibited significantly higher creative integration skills post-experiment, with a statistical significance of .05; (3.2) overall, the feedback of the high school students regarding the learning management model was extremely positive (Mean = 4.83 S.D = .259), with each aspect receiving the highest level of feedback satisfaction.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้โขนที่ส่งเสริมทักษะการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ 3) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 4 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านโขนแบบขนบนิยม ด้านโขนร่วมสมัย ด้านหลักสูตรและการสอน ครูนาฏศิลป์ และนักเรียนนาฏศิลป์ จำนวน 39 คน ระยะที่ 2 เป็นการออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ กลุ่มนักเรียนในการศึกษานำร่อง จำนวน 20 คน ระยะที่ 3 เป็นการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ไปทดลองใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2566 จากโรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จำนวน 30 คน ระยะที่ 4 เป็นการประเมินผล ปรับปรุง และศึกษาประสิทธิผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกประเด็นสนทนากลุ่ม แบบประเมินทักษะการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ และแบบสอบถามความคิดเห็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบข้อมูลด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มที่สัมพันธ์กัน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้โขนที่ส่งเสริมทักษะการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา มี 4 ด้าน คือ 1.1 ด้านสภาพทั่วไปของการจัดการเรียนการสอนโขน 1.2 ด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน 1.3 ด้านกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ของครู และ 1.4 ด้านการเรียนรู้โขนแบบบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ เมื่อสังเคราะห์แล้วสรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้โขนส่วนใหญ่สอนเฉพาะทฤษฎี มีบางสถานศึกษาสอนปฏิบัติโขนโดยลดทอนการฝึกทักษะขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นฝึกหัดเพื่อแสดงในโอกาสต่าง ๆ และมีความต้องการจัดการเรียนรู้โขนแบบบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวันและความสนใจของผู้เรียน 2. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมี 6 องค์ประกอบ คือ 2.1 หลักการจัดการเรียนรู้ 2.2 วัตถุประสงค์ 2.3 สาระการเรียนรู้ 2.4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.5 การวัดและประเมินผล 2.6 ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จผลการตรวสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ รวมทั้งผลการประเมินเพื่อรับรองรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นชื่อว่า “ILCAP MODEL” ประกอบด้วยขั้นที่ 1 ขั้นการสร้างแรงบันดาลใจ (Inspiration: I) ขั้นที่ 2 ขั้นการเรียนรู้ (Learning: L) ขั้นที่ 3 ขั้นการสร้างสรรค์ (Creativity: C) ขั้นที่ 4 ขั้นการประเมิน (Assessment: A) ขั้นที่ 5 ขั้นการนำเสนอและเผยแพร่องค์ความรู้ (Presentation & Dissemination: P) 3. ผลการทดลองและศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบ มีดังนี้ 3.1 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่เรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ ฯ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีทักษะการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05   3.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean = 4.83 S.D = .259) และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่ามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectรูปแบบการเรียนรู้th
dc.subjectโขนth
dc.subjectการเรียนรู้บูรณาการเชิงสร้างสรรค์th
dc.subjectทักษะการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์th
dc.subjectLearning modelen
dc.subjectKhonen
dc.subjectCreative integration learningen
dc.subjectCreative integration skillsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationFine artsen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF KHON LEARNING MANAGEMENT MODEL TO ENHANCE CREATIVE INTEGRATION SKILLS FOR SECONDARY SCHOOL STUDENTSen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โขนที่ส่งเสริมทักษะการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorRawiwan Wanwichaien
dc.contributor.coadvisorระวิวรรณ วรรณวิไชยth
dc.contributor.emailadvisorrawiwan@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorrawiwan@swu.ac.th
dc.description.degreenameDOCTOR OF EDUCATION (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs641150082.pdf6.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.