Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSUNCHUY MOSIKARATen
dc.contributorสัณห์ชาย โมสิกรัตน์th
dc.contributor.advisorPiyada Sombatwattanaen
dc.contributor.advisorปิยดา สมบัติวัฒนาth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. INSTITUTE OF RESEARCH IN BEHAVIORAL SCIENCEen
dc.date.accessioned2019-10-15T05:50:00Z-
dc.date.available2019-10-15T05:50:00Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/285-
dc.descriptionDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis study aims to study on the dynamic of making the meaning of money among a group of students who took out student loans, in order to study and understand how meaning making by attending the Buddhist counseling sessions to create a psychological financial counseling framework for this group of students. Interpretative Phenomenological Analysis (IPA) was used in conducting the study, and the population consisted of eight fourth-year students who took out loans and participated in eight Buddhist Counseling sessions. The individual semi-structural in-depth interview on the meaning of money was used to collect the data. The results of the study of the dynamics of the counseling process revealed that the primary meaning of money and the new meaning making one differed between the participants; This changing in meaning was incongruent with their life circumstances to the meaning of money that was built up from examining factors that were more relevant in their daily lives. The meaning of money from attending the counseling sessions consisted of six categories as follows; 1) money brings happiness as it helps one to acquire what one wants; 2) money is an essential in life; 3) money provides freedom to live the way that one wants to; 4) having enough money means a good quality of life and to be able to handle uncertainty; 5) Money helps to live with others in harmony; and 6) money is something to obtain and to collect to the best of one’s order to have enough to living on. In addition, the study showed seven categories of the experiences regarding attending Buddhist counseling emphasizing the meaning of money as follows: 1) distress before attending counseling process; 2) reluctance in disclosing personal information; 3) feeling impressed with the counselor; 4) Attended the counseling willingly; 5) Contemplation in counseling process; 6) Frustration when the words of the counselor were in conflict with their thoughts; 7) The result from attending the counseling process. The results of this study are a guideline for psychological counselors to apply the practice in working with people who face financial distress. The researcher suggests that future studies should be conducted in long-term manner, which could reflect the meaning of money into mid-adulthood and adulthood on these subjects in future.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาพลวัตการสร้างความหมายของเงิน ของนิสิตที่กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา ที่เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ และศึกษาความหมายของเงินที่นิสิตสร้างขึ้นจากกระบวนการดังกล่าว เพื่อสร้างแนวทางปรึกษาเชิงจิตวิทยาทางการเงินแบบรายบุคคลสำหรับนิสิตกลุ่มดังกล่าว โดยใช้การวิเคราะห์ปรากฏการณ์วิทยาเชิงตีความ (IPA) เป็นวิธีในการวิจัย ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นนิสิตที่กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 8 คนที่ผ่านกระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธเน้นความหมายของเงินมาจำนวน 8 ครั้ง ผู้วิจัยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกแบบรายบุคคล โดยมีแนวสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลจากการศึกษาแสดงพลวัตในกระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธให้เห็นว่าความหมายของเงินตั้งต้นและที่สร้างขึ้นใหม่นั้นแตกต่างในผู้เข้าร่วมการวิจัยแต่ละคน โดยมีภาพรวม คือ เปลี่ยนแปลงจากความหมายที่ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ชีวิต ไปสู่ความหมายที่สร้างขึ้นจากการพิจารณาสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของตนยิ่งขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นจากการพิจารณาประสบการณ์ทางการเงินของตนในกระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ ความหมายของเงินที่สร้างขึ้นจากกระบวนการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ ประกอบด้วย 6 ประเด็น ได้แก่ 1) เงินเป็นสิ่งที่ช่วยให้เป็นสุขจากการได้สิ่งที่ต้องการ 2) เงินเป็นปัจจัยในการดำรงชีวิต 3) เงินเป็นประตูสู่อิสระในการดำเนินชีวิตแบบที่พอใจ 4) การมีเงินเพียงพอคือมีพอสำหรับการมีคุณภาพชีวิตที่ดีและรับความไม่แน่นอน 5) เงินสามารถส่งเสริมการอยู่ร่วมกับคนที่เกี่ยวข้องในชีวิตให้ดำเนินไปอย่างเป็นสุข และ 6) เงินเป็นสิ่งที่แสวงหาและสะสมให้เพียงพอต่อชีวิตได้ด้วยความสามารถที่มี ประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมการวิจัยแสดงกระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาทางการเงิน 7 ประเด็น ได้แก่ 1) ความทุกข์ก่อนมาเข้ากระบวนการปรึกษา 2) ไม่กล้าเปิดเผยตน 3) ประทับใจต่อนักจิตวิทยาการปรึกษา 4) มาปรึกษาด้วยความเต็มใจ 5) การพิจารณาในกระบวนการปรึกษาฯ 6) รู้สึกสับสนเมื่อคำพูดของนักจิตวิทยาการปรึกษาไม่ตรงกับใจ 7) ผลจากการเข้าร่วมกระบวนการปรึกษา ผลการวิจัยนี้เป็นแนวทางแก่นักจิตวิทยาการปรึกษาสำหรับประยุกต์ในการทำงานกับผู้ที่ประสบความทุกข์ทางการเงิน ผู้วิจัยเสนอแนะให้การวิจัยในอนาคตมีการติดตามเก็บข้อมูลระยะยาว เพื่อศึกษาความคงทนหรือความเปลี่ยนแปลงของความหมายของเงิน ที่มีต่อชีวิตในช่วงผู้ใหญ่ตอนต้นถึงตอนกลางต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความหมายของเงินth
dc.subjectการสร้างความหมายth
dc.subjectหนี้จากการศึกษาth
dc.subjectการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธth
dc.subjectMEANING OF MONEYen
dc.subjectMEANING MAKINGen
dc.subjectEDUCATION DEBTen
dc.subjectBUDDHIST COUNSELINGen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleBuddhist Counseling for Money Meaning Making of The College Student Taken Educational Loanen
dc.titleการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธเพื่อสร้างความหมายของเงินในนิสิตที่กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs561150083.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.