Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2853
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | TINATSIRIN SRICHUMPON | en |
dc.contributor | ธิณัฐสิริน ศรีชุมพล | th |
dc.contributor.advisor | Patcharaporn Srisawat | en |
dc.contributor.advisor | พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-11T03:53:52Z | - |
dc.date.available | 2024-07-11T03:53:52Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 24/5/2024 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2853 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research are as follows: 1) to analyze the components of positive psychological capital among parents of children with disabilities; 2) to study a model to measure positive psychological capital among parents of children with disabilities with the empirical data; 3) to construct a program of group counseling with acceptance and commitment therapy; 4) to compare the positive psychological capital of parents of children with disabilities in the experimental group; and 5) to compare the positive psychological capital of parents of children with disabilities between the experimental and control groups. The sample groups were parents of children with disabilities in special education, including: Phase 1: five key informants in in-depth interviews. The sampling group for the analysis and confirmatory composition of 394 people obtained by simple random sampling. Phase 2 consisted of 16 parents of children with disabilities from Phase 1 were lower than the 25 th percentile, obtained by purposive sample selection, in an experimental group and a control group, with eight people in each group. The experimental group received group counseling with commitment therapy and the control group did not receive it. The research instrument was positive psychological capital. The confident value was 0.919. The statistics used to analyze the data was confirmatory factor analysis, One-Way Repeated Measures ANOVA and Two-Way Repeated Measures ANOVA. The results of the research are as follows: 1) positive psychological capital for parents of children with disabilities had four components: self-efficacy, hope, optimism, and resilience; 2) the model for measuring positive psychological capital of parents of children with disabilities fit he empirical data; 3) a program on group counseling with acceptance and commitment therapy had eight applications that corresponded with six techniques according to the Hexaflex model; 4) a comparison the positive psychological capital for parents was at a level of .05; and 5) comparison of positive psychological capital for parents of children with disabilities in post and follow-up period of group counseling with acceptance and commitment therapy was significantly higher than the control group at a level of .05. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการ 2) เพื่อศึกษาโมเดลการวัดทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) เพื่อสร้างโปรแกรมการให้คำปรึกษาตามแนวการบำบัดแบบการยอมรับและพันธะสัญญาแบบกลุ่ม 4) เพื่อเปรียบเทียบทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการโดยการให้คำปรึกษาตามแนวการบำบัดแบบการยอมรับและพันธะสัญญาแบบกลุ่มในระยะก่อน หลัง และติดตามผล และ 5) เพื่อเปรียบเทียบทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการโดยการให้คำปรึกษาฯระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม ก่อน หลัง และติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือพ่อหรือแม่ที่ลูกเป็นบุคคลพิการที่กำลังศึกษาอยู่ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้แก่ ระยะที่ 1 ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึกคือ พ่อหรือแม่ที่ลูกเป็นบุคคลพิการ จำนวน 5 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันจำนวน 394 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นระยะที่ 2 เป็นพ่อหรือแม่จากระยะที่ 1 ที่มีค่าเฉลี่ยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ลงมาจำนวน 16 คน ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 8 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรม ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบวัดทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .919 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (One-way Repeated-measures ANOVA) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณสองทางแบบวัดซ้ำ (Two-way Repeated-measures ANOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือการรับรู้ความสามารถของตนเอง ความหวัง การมองโลกในแง่ดี และความหยุ่นตัว 2) โมเดลการวัดทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการมีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) รูปแบบการให้คำปรึกษาตามแนวการบำบัดแบบการยอมรับและพันธะสัญญาแบบกลุ่มใช้การบำบัดแบบการยอมรับและพันธะสัญญาเป็นฐานประกอบไปด้วย 8 กระบวนการที่สอดคล้องไปกับ 6 เทคนิคตามโมเดลเฮกซะเฟล็ก 4) ผลการเปรียบเทียบพบว่าทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการโดยการให้คำปรึกษาตามแนวการบำบัดแบบการยอมรับและพันธะสัญญาแบบกลุ่มของกลุ่มทดลอง ในระยะหลังและติดตามผลสูงกว่าระยะก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการเปรียบเทียบพบว่าทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการโดยการให้คำปรึกษาตามแนวการบำบัดแบบการยอมรับและพันธะสัญญาแบบกลุ่มของกลุ่มทดลองในระยะหลังและติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การให้คำปรึกษาตามแนวการบำบัดแบบการยอมรับและพันธะสัญญาแบบกลุ่ม | th |
dc.subject | ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก | th |
dc.subject | พ่อแม่ที่มีลูกเป็นบุคคลพิการ | th |
dc.subject | Group counseling with acceptance and commitment therapy | en |
dc.subject | Positive psychological capital | en |
dc.subject | Parents of children with disabilities | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | A STUDY AND ENHANCEMENT OF POSITIVE PSYCHOLOGICAL CAPITALFOR PARENTS OF CHILDREN WITH DISABILITIES THROUGH GROUP COUNSELINGWITH ACCEPTANCE AND COMMITMENT THERAPY | en |
dc.title | การศึกษาและการเสริมสร้างทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพ่อแม่ที่ลูกเป็นบุคคลพิการโดยการให้คำปรึกษาตามแนวการบำบัดแบบการยอมรับและพันธะสัญญาแบบกลุ่ม | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Patcharaporn Srisawat | en |
dc.contributor.coadvisor | พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | patcharapom@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | patcharapom@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | DOCTOR OF EDUCATION (Ed.D.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Guidance And Educational Psychology | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs631150074.pdf | 2.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.