Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2832
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorARNUPARP KAMHANGHARNen
dc.contributorอานุภาพ กำแหงหาญth
dc.contributor.advisorOng-art Naiyapatanaen
dc.contributor.advisorองอาจ นัยพัฒน์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-07-11T03:53:49Z-
dc.date.available2024-07-11T03:53:49Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/5/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2832-
dc.description.abstractThe purposes of this research are as follows: (1) to analyze the disparity in academic achievement in mathematics, science, and English that occurs between schools in the same and different educational service areas and between educational service areas; (2) to study the statistically significant student-level, school-level, and educational service areas-level factors that impact the achievement disparity among twelfth-grade students; (3) to understand the characteristics of the educational administration process of the case studies of schools that were analyzed and found high or low disparity, both with and without facilitating factors; and (4) to develop policy proposals and strategic operations in the educational management operations of the case study of the Educational Service Area Office from the results of the analysis, it was found that most schools under supervision have high or low disparity, both with and without facilitating factors. In Phase One, there was multilevel factor sampling of 62 districts, 2,388 schools, and 13,646 students was obtained from multi-stage random sampling. In Phase Two, 28 key informants were obtained through purposeful sampling. The tools included a secondary data form and a focus group question form, analyzed using three-level multilevel analysis with the HLM program ver.8.2.The results revealed the following: (1) academic achievement disparity reaching statistical significance at a level of .05 (df=61, p=en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีความมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อ (1) วิเคราะห์ความเหลื่อมล้ำของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน และระหว่างเขตพื้นที่การศึกษาต่างกัน (2) ศึกษาปัจจัยระดับนักเรียน ระดับโรงเรียน และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ที่มีอิทธิพลต่อความเหลื่อมล้ำของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) เพื่อทำความเข้าใจสภาพลักษณะของกระบวนการดำเนินงานบริหารจัดการศึกษาของกรณีศึกษาโรงเรียนที่วิเคราะห์พบความเหลื่อมล้ำสูงหรือต่ำ ทั้งที่มีและไม่มีปัจจัยเอื้ออำนวย (4) เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวดำเนินการเชิงกลยุทธ์ในการดำเนินงานบริหารจัดการศึกษาของกรณีศึกษาสำนักงานเขตพื้นการศึกษาจากผลการวิเคราะห์พบโรงเรียนในกำกับดูแลส่วนใหญ่มีความเหลื่อมล้ำสูงหรือต่ำ ทั้งที่มีและไม่มีปัจจัยเอื้ออำนวย ระยะที่ 1 กลุ่มตัวอย่างระดับเขตพื้นที่ 62 เขตฯ ระดับโรงเรียน 2,388 แห่ง ระดับนักเรียน 13,646 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ระยะที่ 2 ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 28 คน ได้มาจากการเลือกตัวอย่างแบบอิงจุดมุ่งหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทุติยภูมิ และ แบบประเด็นคำถามการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์พหุระดับแบบ 3 ระดับ ด้วยโปรแกรม HLM ver.8.2 ผลการวิจัยพบว่า (1) พบความเหลื่อมล้ำของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (df=61, p=th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความเหลื่อมล้ำth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectวิเคราะห์พหุระดับth
dc.subjectคณิตศาสตร์th
dc.subjectวิทยาศาสตร์th
dc.subjectภาษาอังกฤษth
dc.subjectข้อเสนอเชิงนโยบายth
dc.subjectDisparityen
dc.subjectAcademic achievementen
dc.subjectMultilevel analysisen
dc.subjectMathematicsen
dc.subjectScienceen
dc.subjectEnglishen
dc.subjectPolicy Proposalen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE ANALYTICAL STUDY OF MULTI-LEVEL FACTORS AFFECTINGTHE DISPARITY OF THE 12TH GRADE OF STUDENTS’ ACADEMIC ACHIEVEMENTIN MATHEMATICS, SCIENCES, AND ENGLISH WITHIN AND BETWEENTHE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREASOF THAILAND BY 3 – LEVEL MULTI-LEVEL ANALYSIS WITH MULTI-CASE STUDIESen
dc.titleการศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยพหุระดับที่มีอิทธิพลต่อความเหลื่อมล้ำของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6ที่เกิดขึ้นภายในและระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาของประเทศไทยโดยใช้วิธีการวิเคราะห์พหุระดับแบบ 3 ระดับ ร่วมกับการศึกษาเฉพาะพหุกรณีth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorOng-art Naiyapatanaen
dc.contributor.coadvisorองอาจ นัยพัฒน์th
dc.contributor.emailadvisorong-art@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorong-art@swu.ac.th
dc.description.degreenameDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment of Education Measurement And Research HEen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษาth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611150019.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.