Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/282
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | VACHIRAVIT MAIKHU | en |
dc.contributor | วชิรวิทย ไม้คู่ | th |
dc.contributor.advisor | Piyada Sombatwattana | en |
dc.contributor.advisor | ปิยดา สมบัติวัฒนา | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. INSTITUTE OF RESEARCH IN BEHAVIORAL SCIENCE | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-15T05:49:59Z | - |
dc.date.available | 2019-10-15T05:49:59Z | - |
dc.date.issued | 20/12/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/282 | - |
dc.description | DOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | The objective of this research were to study the interaction between the variables of the situational factors, psychological traits and psychological states which related to the behavioral integrity of Sales department staff from Gen. X and Gen. Y, to investigate the predictive power of behavioral integrity of the variables in situational factors, psychological traits, psychological states, and to create organizational development guidelines regarding factors promoting behavioral integrity of sales department staff in Gen. X and Gen. Y within the organization, by using a mixed methods approach. The samples consisted of 400 member of Gen. X and Gen Y. The data was analyzed by three-way ANOVA which found that the psychological traits, situational factors and an extroverted personality were significant, according to the behavioral integrity both Gen. X and Gen. Y. The predictive power of behavioral integrity was analyzed by multiple regression analysis which found that the factor that affecting behavioral integrity the most included are conscientious the personality, the factor that affect behavioral integrity, consistency between The speech and the actions of individuals were attitudes towards behavioral integrity and the factor that affecting behavioral integrity in terms of consistency between established principles and the promise of treatment will follow that principle was indicative of an intellectual personality. The result of both analysis used to create questionares for qualitative research. The interviewing of 7 samples brought to conclusions which are ways to develop organizations: 1) Creating knowledge and understanding Behavioral Integrity, 2) organizing a collaborative learning experience within the organization of employees at all levels, 3) demonstrating the model of practice in order to demonstrate behavioral integrity, 4) the establishment of a work place that is conducive to expressing opinions that link to the changing of behavioral integrity, and 5) promoting behavioral integrity by developing ethics in mental learning. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาปฎิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้านสถานการณ์ ด้านจิตลักษณะ และจิตลักษณะตามสถานการณ์ กับความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมของพนักงานเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ (เจนเอ็กซ์) และเจนเนอเรชั่นวาย (เจนวาย) ภายในองค์กร 2) เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมจากตัวแปรด้านสถานการณ์ ด้านจิตลักษณะ และจิตลักษณะตามสถานการณ์ของพนักงานเจนเอ็กซ์และเจนวายภายในองค์กรและ 3) เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาองค์กรเกี่ยวกับปัจจัยส่งเสริมความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมของพนักงานเจนเอ็กซ์และเจนวายภายในองค์กร ซึ่งใช้การศึกษาวิจัยแบบผสานวิธี โดยใช้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน เมื่อนำมาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสามทางพบว่า จิตลักษณะตามสถานการณ์, สถานการณ์ และจิตลักษณะ ส่งผลต่อความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมของเจนเอ็กซ์ และเจนวาย ส่วนผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ พบว่าองค์ประกอบที่ส่งผลต่อความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมโดยรวมมากที่สุดคือ บุคลิกภาพด้านมโนธรรมหรือมีจิตสำนึก องค์ประกอบที่ส่งผลต่อความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมด้านความสอดคล้องระหว่างคำพูดและการกระทำของบุคคล คือ เจตคติต่อความซื่อตรงเชิงพฤติกรรม และ องค์ประกอบที่ส่งผลต่อความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมด้านความสอดคล้องระหว่างหลักการที่ได้กำหนดไว้กับการรักษาสัญญาจะปฏิบัติตามหลักการนั้น คือ บุคลิกภาพด้านสติปัญญา จากนั้นจึงนำผลไปใช้เป็นแนวทางในการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 7 คน และนำมาสรุปเป็นแนวทางการพัฒนาองค์กรเกี่ยวกับปัจจัยส่งเสริมความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมของพนักงานเจนเอ็กซ์และเจนวาย ว่าควรทำดังนี้ 1) ควรสร้างความรู้ความเข้าใจต่อความซื่อตรงเชิงพฤติกรรม 2) ควรจัดประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันภายในองค์กรของพนักงานทุกระดับ 3) ควรแสดงให้เห็นถึงต้นแบบของการปฏิบัติตัวเพื่อแสดงให้เห็นถึงความซื่อตรงเชิงพฤติกรรม 4) ควรจัดสถานที่หรือบรรยากาศในการทำงานที่เอื้อต่อการแสดงความคิดเห็นที่เชื่อมโยงสู่การปรับเปลี่ยนความซื่อตรงเชิงพฤติกรรม และ 5) ควรส่งเสริมความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมด้วยการพัฒนาจริยธรรมในด้านการเรียนรู้ทางจิตใจ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ความซื่อตรงเชิงพฤติกรรม | th |
dc.subject | เจตคติต่อความซื่อตรงเชิงพฤติกรรม | th |
dc.subject | ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม | th |
dc.subject | บรรยากาศเชิงจริยธรรมภายในองค์กร | th |
dc.subject | Behavioral integrity | en |
dc.subject | Situational factors | en |
dc.subject | Psychological traits | en |
dc.subject | Psychological states | en |
dc.subject.classification | Psychology | en |
dc.title | STUDY OF THE BEHAVIORAL INTEGRITY FACTORS AFFECTING OF GENERATIONS X AND GENERATIONS Y IN THE SALES DEPARTMENT OF FOOD AND BEVERAGE DISTRIBUTIONS AND MANUFACTURING COMPANIES | en |
dc.title | การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความซื่อตรงเชิงพฤติกรรมของพนักงานฝ่ายขายเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวายของบริษัทธุรกิจพาณิชย์ที่เป็นผู้ผลิตและจัดจำหน่ายสินค้าประเภทอาหารและเครื่องดื่ม | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Institute of Research in Behavioral Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs561150079.pdf | 2.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.