Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/275
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorEAKAPOL KRAUSEen
dc.contributorเอกพล เคราเซth
dc.contributor.advisorNumchai Supparerkchaisakulen
dc.contributor.advisorนำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. INSTITUTE OF RESEARCH IN BEHAVIORAL SCIENCEen
dc.date.accessioned2019-10-15T05:49:56Z-
dc.date.available2019-10-15T05:49:56Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/275-
dc.descriptionDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to create an appropriate quality of life (QoL) development program for the elderly in Watbanprong community, using the meaning and components of the elderly’s QoL. The study consisted of four phases: Phase one aimed to understand, explain the meaning and identify the key domains of the QoL of the elderly; phase two aimed to explore and identify the determinants of QoL among the elderly, according to their viewpoints using Q methodology; and phase three aimed to assess the problems and needs and phase four aimed to assess the efficiency of the program. The findings of phase one revealed that: the QoL of the elderly varied according to their social context and environment. The meaning and key domains of QoL were indispensable and could be categorized into four themes: pride in living, physical competence and health, social interaction and activities, social participation and access to physical and social environment including cyberspace. There were two conditions that cause QoL among the elderly: internal and external conditions. The findings of phase two revealed that the QoL from the perspective of the elderly consisted of four determinants: pride in living, altruism, inter/intrapersonal understanding and security, safety, and sociocultural ecosystem. The focus group from phase three revealed that insomnia was their urgent need. Therefore, the QoL development program was created in phase four to solve this problem. The experiment revealed that sleeping quality and QoL of the experimental group was better than that of the control group with statistical significance of .01.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำความหมายและองค์ประกอบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุมาสร้างโปรแกรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่เหมาะสำหรับชุมชนวัดบางปรง จังหวัดฉะเชิงเทราด้วยการวิจัยผสานวิธี แบ่งการวิจัยออกเป็น 4 ระยะ ระยะแรก มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจ กำหนดความหมายและองค์ประกอบ รวมถึงปัจจัยสาเหตุที่จะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ระยะที่ 2 เพื่อวิเคราะห์มุมมององค์ประกอบคุณภาพชีวิตตามทัศนะของผู้สูงอายุชุมชนวัดบางปรง (บริบท) ด้วยวิธีวิทยาคิว ระยะที่ 3 เพื่อประเมินประเด็นปัญหาและความต้องการที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจากบริบท ระยะที่ 4 เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่เหมาะสำหรับชุมชนวัดบางปรง จังหวัดฉะเชิงเทรา ข้อค้นพบระยะที่ 1 พบว่า คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุมีความผันแปรไปตามบริบทของสังคมและสภาพแวดล้อม ความหมายและองค์ประกอบไม่สามารถแยกออกจากกันได้ สามารถจัดกลุ่มความหมายได้ทั้งหมด 4 กลุ่มประเภท ได้แก่ 1) การได้ใช้ชีวิตอย่างภาคภูมิ 2) การมีสมรรถนะของร่างกายและมีสุขภาวะ 3) การมีปฏิสัมพันธ์และกิจกรรมทางสังคม และ 4) การได้เข้าร่วมและเข้าถึง สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เหมาะสม รวมถึงสังคมเสมือน ส่วนสาเหตุที่จะก่อให้เกิดคุณภาพชีวิต มี 2 ส่วนคือ ปัจจัยภายในจากตัวผู้สูงอายุเอง และปัจจัยภายนอก ในขณะที่ระยะที่ 2 พบว่า 1) การใช้ชีวิตอย่างภาคภูมิ 2) การเห็นแก่ประโยชน์ผู้อื่น 3) ความเข้าใจตนเองและผู้อื่น และ 4) ความมั่นคง ปลอดภัย และระบบนิเวศทางสังคมวัฒนธรรม คือ คุณภาพชีวิตตามทัศนะของบริบทชุมชนนี้ ระยะที่ 3 ผลการสนทนากลุ่ม พบว่าต้องการแก้ปัญหาเรื่องการนอนไม่หลับเป็นเรื่องเร่งด่วน ระยะที่ 4 จึงสร้างและศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมการนอนหลับที่เหมาะสำหรับผู้สูงอายุชุมชนวัดบางปรง หลังการทดลองพบว่ากลุ่มทดลองมีคุณภาพการนอนหลับและคุณภาพชีวิตแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectคุณภาพชีวิตth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectโปรแกรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่เหมาะสมth
dc.subjectชุมชนวัดบางปรงth
dc.subjectจังหวัดฉะเชิงเทราth
dc.subjectQuality of lifeen
dc.subjectthe Elderlyen
dc.subjectAppropriate QoL Development Programen
dc.subjectWat Bang Prong Communityen
dc.subjectChachoengsao provinceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleMEANING AND COMPONENTS OF THE QUALITY OF LIFE AMONG THE ELDERLY:MIXED METHODS STUDY FOR CREATING AN APPROPRIATEQUALITY OF LIFE DEVELOPMENT PROGRAM IN WATBANGPRONG COMMUNITY, CHACHOENGSAO PROVINCEen
dc.titleความหมายและองค์ประกอบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ: การวิจัยผสานวิธีเพื่อสร้างโปรแกรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่เหมาะสำหรับชุมชนวัดบางปรงจังหวัดฉะเชิงเทราth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs561150057.pdf6.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.