Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/274
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTIARNA SUPATCHAYABHUMIen
dc.contributorฐิญาณา สุภัทรชยาภูมิth
dc.contributor.advisorDusadee Yoelaoen
dc.contributor.advisorดุษฎี โยเหลาth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. INSTITUTE OF RESEARCH IN BEHAVIORAL SCIENCEen
dc.date.accessioned2019-10-15T05:49:55Z-
dc.date.available2019-10-15T05:49:55Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/274-
dc.descriptionDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe objectives of this study were as follows: 1) to develop a psychosocial project-based learning model; and 2) to study the results of a psychosocial project-based learning model. This research has two phases: Phase one; to develop a psychosocial project-based learning model by using a focus group discussion to collect the data from six experts. A pilot study was conducted to investigate the efficiency of a psychosocial project-based learning model. In Phase two; there was an experiment with a psychosocial project-based learning model for sixteen hours with thirty-four samples who studied at in Grade Six, who were divided into two groups of seventeen students in an experimental and a control group. An experimental research design was used to study the differences in the creative problem-solving behavior between these two groups. The research tools in this study consisted of a focus group question, activity plans for a psychosocial project-based learning model, and a creative problem-solving behavior assessment. The data were analyzed by content analysis, the efficiency of processes or efficiency of product effectiveness to a standard 75/75 and compared the mean with analysis of covariance. The results of phase one found the following: (1) the psychosocial project-based learning model consisted of five components, which included: (1) purpose; (2) principle; (3) process; (4) role of instructor and learner; and (5) measurement and assessment. (2) The efficacy of the model was E1/E2 = 78.18/82.74. In phase two, the results revealed that the experimental group had a statistically higher score for creative problem-solving behaviors than the control group at a .05 level of statistical significance. The study found the experimental group had a higher score in the two dimensions of creative problem-solving behaviors, fact finding behavior, and idea finding behavior than the control group with a statistical significance at .05 level. The results also revealed that experimental group had a higher score in terms of four dimensions of creative problem-solving behaviors, mess finding behavior, problem finding behavior, solution finding behavior, and acceptance finding behavior than the control group without any statistical significance. The experimental group had an overall average score and each dimension was higher than the control group. The result from two phases indicated a psychosocial project-based learning model called the 5I Model. There are five learning stages of processes for students: (1) Inspiration; (2) identify and analysis; (3) Idea Illumination, Design, and Planning; (4) Invention, Evaluation, and Improvement and (5) Innovation Exchange. Moreover, the guidelines for teacher found three processes called PDA; (1) Preparing, (2) Doing, and (3) Assessment.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตและสังคม และ 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตและสังคม ดำเนินการวิจัย 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 พัฒนาและสร้างรูปแบบการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตและสังคม โดยการศึกษาเอกสารและการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญจำนวน 6 ท่าน จึงนำรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นไปศึกษานำร่องเพื่อวิเคราะห์ค่าประสิทธิภาพ กำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 75/75 พร้อมทั้งปรับปรุงและพัฒนาให้เหมาะสม ระยะที่ 2 นำรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 17 คน และกลุ่มควบคุม 17 คน เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย คำถามการสนทนากลุ่ม แผนกิจกรรมตามรูปแบบการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตและสังคม และแบบวัดพฤติกรรมแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีการเก็บข้อมูลพฤติกรรมแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการเรียนรู้ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม การวิจัยระยะที่ 1 พบว่า รูปแบบการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตและสังคมที่พัฒนาขึ้น มี 5 องค์ประกอบ คือ 1) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 2) หลักการของรูปแบบ 3) ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมสำหรับผู้เรียนแบ่งเป็น 4) บทบาทผู้สอนและผู้เรียน และ 5) การวัดและประเมินผลของรูปแบบ ซึ่งรูปแบบการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ E1/E2 = 78.18/82.74 การวิจัยระยะที่ 2 พบว่า ผู้เรียนกลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตและสังคมมีพฤติกรรมแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์แตกต่างกับผู้เรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านพฤติกรรมค้นหาความจริง และด้านพฤติกรรมค้นหาความคิด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนพฤติกรรมรับรู้ปัญหา พฤติกรรมค้นหาปัญหา พฤติกรรมค้นหาวิธีแก้ และพฤติกรรมค้นหาคำตอบ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผู้เรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมและรายด้านสูงกว่ากลุ่มควบคุม  การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้จากการวิจัย 2 ระยะ พบว่ารูปแบบการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตและสังคม เรียกว่า 5I Model ซึ่งมีขั้นการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน 5 ขั้น คือ ขั้นเกิดแรงบันดาลใจ (Inspiration) ขั้นระบุและวิเคราะห์ปัญหา (Identification and Analysis) ขั้นกำหนดวิธีการแก้ปัญหา ออกแบบและวางแผน (Idea Illumination, Design and Plan)  ขั้นปฏิบัติโครงงาน (Invention, Evaluation and Improvement) และขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Innovation Exchange) และแนวทางสำหรับผู้สอน (PDA)  แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเตรียมความพร้อม (Preparing) ระยะดำเนินกิจกรรม (Doing) และระยะประเมินผล (Assessment)th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectรูปแบบการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตสังคมth
dc.subjectพฤติกรรมแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์th
dc.subjectผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.subjectPsychosocial Preject-Based Learningen
dc.subjectCreative Problem Solving Behaviorsen
dc.subjectGrade Six Studentsen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleEFFECTIVE OF A PSYCHOSOCIAL PROJECT-BASED LEARNING MODEL TO ENHANCE CREATIVE-PROBLEM SOLVING BEHAVIORSIN GRADE SIX STUDENTSen
dc.titleประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนรู้โครงงานที่เน้นจิตสังคมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs541120023.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.